Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7358
Title: | ภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเอกชนในสายตาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย |
Other Titles: | The image of private universities from high school students' viewpoint |
Authors: | จิตลาวัณย์ บุนนาค |
Advisors: | ธนวดี บุญลือ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Advisor's Email: | Tanawadee.B@chula.ac.th |
Subjects: | ภาพพจน์ สถาบันอุดมศึกษาเอกชน -- ไทย การศึกษาขั้นอุดมศึกษา -- ไทย |
Issue Date: | 2539 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | สำรวจความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เกี่ยวกับมหาวิทยาลัยเอกชนทั้งนี้โดยใช้แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับภาพลักษณ์มาเป็นกรอบสำคัญ ผลการวิจัย พบว่า ภาพลักษณ์ในด้านต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยเอกชนในสายตาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายอยู่ในระดับดี หรืออาจเรียกได้ว่า มหาวิทยาลัยเอกชนมีภาพลักษณ์เชิงบวกเฉลี่ย 3.53 โดยที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ร้อยละ 54.6 ไม่สนใจที่จะเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยเอกชน แต่ทั้งนี้พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ต้องการเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยเอกชน ร้อยละ 45.4 ให้เหตุผลดังนี้คือ สอบเข้ามหาวิทยาลัยของรัฐไม่ได้ สามารถเลือกคณะได้ตามความต้องการหรือสนใจและสาขาวิชา ที่ศึกษามีคุณภาพดีเมื่อเทียบกับมหาวิทยาลัยอื่น ฯลฯ ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่า ภาพลักษณ์ที่เด่นที่สุดของมหาวิทยาลัยเอกชน ในสายตาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายคือ มหาวิทยาลัยเอกชนมีการดำเนินงานร่วมกับมหาวิทยาลัยต่างชาติที่มีชื่อเสียง รองลงมาคือ มหาวิทยาลัยเอกชนมีอุปกรณ์การเรียนการสอน อุปกรณ์การปฏิบัติการอย่างเพียงพอ ฯลฯ สำหรับภาพลักษณ์ที่ด้อยที่สุดหรือเรียกได้ว่าเป็นภาพลักษณ์ในเชิงลบคือ การเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาของมหาวิทยาลัยเอกชน |
Other Abstract: | Assesses the image of private universities according to high school students' viewpoint. The research method had been scoped to image and thinking theories. The result of this research had revealed the position images of private universities. It was also found that 45.5 percent of high school students expressed their interest to continue their study in the private universities. The major reason was the failure to pass the national entrance examination, many fields of selection and perceived quality when comparing to the others. The most outstanding feature of private universities is that some private universities co-operate with the well known foreign institutes, the sufficiency of teaching and learning materials while negative image is the high tuition fee. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 |
Degree Name: | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | นิเทศศาสตรพัฒนาการ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7358 |
ISBN: | 9746365762 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chitlawan_Bu_front.pdf | 940.48 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chitlawan_Bu_ch1.pdf | 962.99 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chitlawan_Bu_ch2.pdf | 1.7 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Chitlawan_Bu_ch3.pdf | 900.55 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chitlawan_Bu_ch4.pdf | 1.27 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Chitlawan_Bu_ch5.pdf | 1.72 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Chitlawan_Bu_back.pdf | 925.88 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.