Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73673
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorMonsieur Philippe Le Gall-
dc.contributor.authorCharuwan Lowira-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate School-
dc.date.accessioned2021-06-02T05:11:35Z-
dc.date.available2021-06-02T05:11:35Z-
dc.date.issued1984-
dc.identifier.issn9745630705-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73673-
dc.descriptionThesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 1984en_US
dc.description.abstractJ’ai découvert Jean Cocteau grâce au cours sur la poésie surréaliste. J'ai étudié alors un de ses poèmes intitulé “Par luimême.” Surprise de voir la liberté que le poète prenait avec les mots ainsi qu'avec leur ordre, J'ai voulu comprendre le pourquoi de cette transition de forme. Plus tard, après avoir étudié plus profondément l’époque de l’Entre-deux-guerres et la légende de Jean Cocte au, j’ai abouti à la conclusion que ses oeuvres nous peignaient le visage de son siècle mais qu'en même temps, je pouvais interpreter autrement un même poème. Lorsque j’ai fini la lecture des “Enfants Terribles,” j’étais persuadée que, malgré l’écriture en prose, il s’agissait d’une oeuvre complètement poétique. C’est en fait un essai de construction du monde en merveille et en mystère. Cela m’a incité à chercher comment Jean Cocteau est parvenu à faire oeuvre de poète dans un roman. Et ma tentative si modeste soit-elle, aidera, je crois, la recherche sur les rapports entre la prose et la poésie, entre, si l’on veut, la forme d’expression et l’émotion poétique qu’elle pro vogue.-
dc.description.abstractalternativeเมื่อเรียนรายวิชากวีนิพนธ์เซอเรียลลิสต์ อาจารย์ได้มอบหมายงานให้ค้นคว้าเกี่ยวกับ ฌ็อง ก็อกโต (Jean Cocteau) ว่าเหตุใดจึงมิได้ถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มเอเรียลลิสต์ ทั้งที่โดยรูปแบบแล้วเขาเป็นกวีเชอเรียลลิสต์เช่นกัน นอกจากนั้น ยังให้ตีความกวีนิพนธ์ของเขาบทหนึ่งด้วยคือ “Par lui -même” ขณะนั้นได้ตีความไปตามความเข้าใจของตนเอง ซึ่งนับเป็นบทที่ยากมาก เนื่องจากรูปประโยควางสับสนแทบไม่ทราบว่าคำใดประกอบคำอย่างแท้จริง หลังจากนั้นได้อ่านหนังสืออีกหลายเล่มทุกเล่มวิจารณ์ว่า งานของเขาไม่ว่าจะอยู่ใน รูปแบบใด จะเป็นงานสร้างสรรค์เชิงกวีนิพนธ์เสียสิ้น จึงลองอ่านนิยายเรื่อง “เลส ช็องฟ็อง แตร์รีบล์” ดู ในขณะที่อ่านรู้สึกว่าเหมือนนั่งดูละคร เพราะแต่ละฉากมักเป็นฉากกลางคืน เครื่องประกอบฉาก แสง สี ล้วนเป็นเทคนิคของละคร นอกจากนั้นมีสัญลักษณ์ให้ตีความมากมาย ภาษาที่ใช้แม้จะอยู่ในรูปของร้อยแก้วก็ให้ภาพที่งดงามเหนือจริง งานวิทยานิพนธ์สั้น ๆ เล่มนี้เป็นเพียงความพยายามที่จะอธิบายเอกลักษณ์ของ ฌ็อง ก็อกโต และงานเขียนช่วงระหว่างสงครามโลก 2 ครั้ง รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างบทประพันธ์แบบร้อยแก้วและร้อยกรองโดยมุ่งแสดงว่า งานประพันธ์ในรูปแบบใดก็ตามอาจเป็นงาน สร้างสรรค์เชิงกวีนิพนธ์ได้ เป็นที่หวังว่างานนี้จะเป็นตัวอย่างให้มีการค้นคว้าเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างร้อยแก้วและร้อยกรองในงานเขียนของนักประพันธ์ฝรั่งเศสคนอื่น ๆ หรือค้นคว้าว่างานศิลปใด อาจเป็นงานสร้างสรรค์เชิงกวีนิพนธ์ได้เช่นกัน-
dc.language.isofren_US
dc.publisherChulalongkorn University.en_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectCocteau, Jean, 1889-1963.en_US
dc.subjectLes Enfants terribles -- Criticism and interpretationen_US
dc.subjectFrench fiction -- History and criticismen_US
dc.subjectFrench poetryen_US
dc.subjectกอกโต, ฌอง, ค.ศ.1889-1963.en_US
dc.subjectเลส์ ซองฟอง แตร์ริเบลอะen_US
dc.subjectนวนิยายฝรั่งเศส -- ประวัติและวิจารณ์en_US
dc.subjectกวีนิพนธ์ฝรั่งเศสen_US
dc.titleLa creation poetique a l'epreuve du roman dans "Les Enfants Terribles" de Jean Cocteauen_US
dc.title.alternativeงานสร้างสรรค์เชิงกวีนิพนธ์ในนวนิยายเรื่อง "เลส์ ซองฟองแตร์ริเบลอะ"ของ ฌอง กอกโตen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Artsen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineFrenchen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorNo information provided-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Charuwan_lo_front_p.pdf1.15 MBAdobe PDFView/Open
Charuwan_lo_ch0_p.pdf1.3 MBAdobe PDFView/Open
Charuwan_lo_ch1_p.pdf1.38 MBAdobe PDFView/Open
Charuwan_lo_ch2_p.pdf2.82 MBAdobe PDFView/Open
Charuwan_lo_ch3_p.pdf2.58 MBAdobe PDFView/Open
Charuwan_lo_ch4_p.pdf4.29 MBAdobe PDFView/Open
Charuwan_lo_back_p.pdf978.79 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.