Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73708
Title: Tea culture tourism in Southeast Asia : A comparative study of Mae Salong in Thailand and Thai Nguyen in Vietnam
Other Titles: การท่องเที่ยววัฒนธรรมชาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้: การศึกษาเปรียบเทียบแม่สะลองในประเทศไทยและถายเงวียนในประเทศเวียดนาม
Authors: Yanling Guo
Advisors: Montira Rato
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Advisor's Email: Montira.R@Chula.ac.th
Issue Date: 2018
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This study attempts to explore the development of tea planting and producing, and tea culture tourism in Mae Salong in Thailand and Thai Nguyen in Vietnam. The findings reveal that tea planting in Mae Salong is derived from KMT villagers in northern Thailand who initially planted tea for livelihood, later developed as a cash crop for substituting opium and reducing soil erosion under the cooperation between the Royal Project and Taiwanese organizations. Nowadays, tea in Mae Salong is selected as “OTOP” and marketed as tourism resources to attract tourists. The tea culture tours in Mae Salong are usually organized with other tourism activities and tourists prefer sightseeing and consuming oolong tea, although Mae Salong is able to offer other tea-related activities. Thai Nguyen, situated in North Vietnam, has a long history of green tea but started large-scale plantation after French colonization and revived during Doi Moi reform. The tea culture destinations in Thai Nguyen have been mostly visited by foreign tourists during these two years and the tour packages mainly provide tea producing experience and knowledge for tourists. In sum, the tea culture tourism of Mae Salong and Thai Nguyen have different characteristics as the result of different historical development and market strategies.
Other Abstract: การศึกษาชิ้นนี้พยายามสำรวจพัฒนาการของการปลูกและการผลิตชา และการท่องเที่ยววัฒนธรรมชาที่แม่สลองของประเทศไทยและถายเงวียนของประเทศเวียดนาม รวมถึงวิเคราะห์ทรัพยากรของการท่องเที่ยววัฒนธรรมชาและรูปแบบการท่องเที่ยววัฒนธรรมชาในพื้นที่สองแห่งนี้ก่อนที่จะเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่าง งานวิจัยใช้ทฤษฎีการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมมาวิเคราะห์รูปแบบการท่องเที่ยววัฒนธรรมชาและแนวโน้มในอนาคตของการพัฒนาการท่องเที่ยววัฒนธรรมของสถานที่ท่องเที่ยวสองแห่งนี้ นอกจากการวิจัยเอกสารแล้ว การลงพื้นที่ภาคสนามและการสัมภาษณ์เชิงลึกยังช่วยให้เห็นถึงมุมมองของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการท่องเที่ยววัฒนธรรมชาในพื้นที่สองแห่งนี้ด้วย ข้อค้นพบจากการศึกษาวิจัยชี้ให้เห็นว่าการปลูกชาที่แม่สลองเริ่มต้นจากชาวบ้านก๊กมินตั๋งในภาคเหนือของประเทศไทย ที่เดิมทีปลูกชาเพื่อบริโภคในชีวิตประจำวัน จากนั้นค่อยๆ พัฒนาเป็นพืชเศรษฐกิจแทนที่ฝิ่นและช่วยลดการพังทลายของหน้าดิน ซึ่งได้รับการส่งเสริมจากโครงการในพระราชดำริและองค์กรจากประเทศไต้หวัน ในปัจจุบัน ชาได้รับการคัดเลือกให้เป็นหนึ่งในสินค้าโอทอปตามโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ และกำหนดให้เป็นทรัพยากรด้านการท่องเที่ยวเพื่อดึงดูดความสนใจของนักท่องเที่ยว การท่องเที่ยววัฒนธรรมชาในแม่สลองนั้นจัดขึ้นร่วมกับกิจกรรมท่องเที่ยวอื่นๆ และนักท่องเที่ยวมักชื่นชอบการเที่ยวชมไร่ชาและดื่มชาอู่หลงมากกว่ากิจกรรมท่องเที่ยวชาประเภทอื่นๆ ถายเงวียนซึ่งตั้งอยู่ในภาคเหนือของประเทศเวียดนามมีประวัติยาวนานเกี่ยวกับชาเขียว และการปลูกในพื้นที่ขนาดใหญ่ได้ขยายตัวขึ้นหลังจากการเข้ามาของรัฐบาลอาณานิคมฝรั่งเศส และการปลูกชาได้รับการรื้อฟื้นขึ้นอีกครั้งในยุคของการปฏิรูปเศรษฐกิจ หรือที่เรียกกันว่า โด๋ยเม้ย ในช่วงสองปีมานี้ การท่องเที่ยววัฒนธรรมชาของถายเงวียนได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ และรูปแบบการท่องเที่ยววัฒนธรรมชามักเน้นประสบการณ์และความรู้เกี่ยวกับการปลูกชา โดยสรุป การท่องเที่ยวเชิงชาของแม่สลองและถายเงวียนมีความแตกต่างกันในเรื่องการรูปแบบการจัดการท่องเที่ยวซึ่งเป็นผลมาจากประวัติความเป็นมาและยุทธศาสตร์การตลาดที่แตกต่างกัน
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2018
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Southeast Asian Studies (Inter-Department)
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73708
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.505
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2018.505
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Gr_6087547020_Yanling Gu.pdf3.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.