Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73731
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิชา จิวาลัย | - |
dc.contributor.author | อุดมศักดิ์ ชาครียวณิชย์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2021-06-07T07:24:19Z | - |
dc.date.available | 2021-06-07T07:24:19Z | - |
dc.date.issued | 2527 | - |
dc.identifier.issn | 9745636061 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73731 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการสร้างระบบไมโครคอมพิวเตอร์ช่วยทำแผนที่เฉพาะกิจระดับ จังหวัดขึ้น เพื่อจัดรวบรวมข้อมูลต่างๆ ในระดับจังหวัดให้เป็นระบบ และแก้ไขข้อมูลให้ทันสมัย สะดวกรวดเร็ว ทั้งยังสามารถนำเสนอข้อมูลในรูปแบบที่มีประสิทธิผลเหมาะแก่การนำไปใช้ โดยมีจังหวัดราชบุรีเป็นพื้นที่ตัวอย่างในการศึกษาวิจัย ระบบดังกล่าวประกอบด้วย ระบบฐานข้อมูล แผนที่ ระบบจัดการฐานข้อมูล และโปรแกรมทำแผนที่ โครงสร้างระบบฐานข้อมูลแผนที่ ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลต่างๆ ทั้งหมด 3 ระดับ แฟ้มข้อมูล ดังกล่าวบรรจุค่าพิกัดของเส้นอาณาเขตการปกครองละเอียดถึงรายตำบลรวม 100 ตำบล ระบบจัดการฐานข้อมูล ถูกสร้างขึ้นด้วยแฟ้มข้อมูลต่างๆเพียงระดับเดียว โดยมีรายละเอียด ข้อมูลรายตำบลรวมทั้งหมด 7 ประเภท 100 ตำบล โปรแกรมทำแผนที่ซึ่งประกอบด้วยโปรแกรมทั้งหมด 6 โปรแกรมสามารถสร้างแผนที่ เฉพาะกิจระดับจังหวัดขึ้น เพื่อแสดงข้อมูลต่างๆ ในระบบจัดการฐานข้อมูล โดยผู้ใช้สามารถติดต่อ สั่งการได้แบบกึ่งอัตโนมัติ และยังสามารถเลือกให้โปรแกรมแสดงแผนที่ของทั้งจังหวัดหรืออำเภอใดอำเภอหนึ่งได้ ผลการวิจัยนี้แสดงว่าสามารถสร้างระบบทั้ง 3 ขึ้นในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ได้ โดยไม่มีข้อจำกัดในเชิงลักษณะเฉพาะของจังหวัดใดๆ และยังสามารถจัดเก็บพร้อมทั้งปรับปรุง ข้อมูลได้เป็นจำนวนมากอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตามระบบที่พัฒนาขึ้นยังมีข้อจำกัดทางด้านมาตราส่วน และรูปแบบการนำเสนอเชิงปริมาณอยู่ ส่วนหนึ่งของการวิจัยได้เสนอแนะการนำระบบดังกล่าวไป ประยุกต์ใช้งานไว้ด้วย | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research is to create a Microcomputer-Assisted Provincial Thematic Mapping System. Its main objective is to offer a new alternative regarding provincial data organization, flexibility and convenience data updating, and the presentation of these data in a appropriate form to be used by authorities, Ratchaburi province was used as a pilot area. The system consists of Cartographic Data Base, Data Base Management System, and Mapping System. The Cartographic Data Base structure comprises of many computer files, having boundary co-ordinates of 100 sub-districts, in 3 levels. The Data Base Management System is created by many computer files, having 7 data types of 100 sub-districts, in only 1 level. The Mapping System, consists of 6 programmes, can produce provincial thematic maps displaying thematic data in Data Base Management System, by interactive communication. Users could select the map of the province as a whole or any required district. The system was designed in such a way that it can be employed exclusively regardless of any specific constraint of the provincial characteristics. From the experience with Ratchaburi data it was found that the system could process and display data at reasonable high speed. The only two constraints in the system are scale and quantitative presentation forms of thematic maps which at present is in the form of circle in various sizes. Recommendations for application of the system are given. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.1984.14 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การทำแผนที่ -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์ | en_US |
dc.subject | การทำแผนที่ -- การประมวลผลข้อมูล | en_US |
dc.subject | Cartography -- Computer programs | en_US |
dc.subject | Cartography -- Data processing | en_US |
dc.title | การทำแผนที่เฉพาะกิจระดับจังหวัดโดยใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ | en_US |
dc.title.alternative | Microcomputer-assisted provincial thematic mapping | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมสำรวจ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.1984.14 | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Udomsak_ch_front.pdf | หน้าปกและบทคัดย่อ | 8.84 MB | Adobe PDF | View/Open |
Udomsak_ch_ch1.pdf | บทที่ 1 | 4.82 MB | Adobe PDF | View/Open |
Udomsak_ch_ch2.pdf | บทที่ 2 | 15.7 MB | Adobe PDF | View/Open |
Udomsak_ch_ch3.pdf | บทที่ 3 | 13.02 MB | Adobe PDF | View/Open |
Udomsak_ch_ch4.pdf | บทที่ 4 | 17.5 MB | Adobe PDF | View/Open |
Udomsak_ch_ch5.pdf | บทที่ 5 | 14.01 MB | Adobe PDF | View/Open |
Udomsak_ch_back.pdf | บรรณานุกรมและภาคผนวก | 71.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.