Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73848
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนงลักษณ์ โควาวิสารัช-
dc.contributor.authorศรีสุดา จารึก-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-06-16T05:51:13Z-
dc.date.available2021-06-16T05:51:13Z-
dc.date.issued2537-
dc.identifier.issn9745842486-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73848-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์คือเพื่อทำการศึกษาค้นคว้าและเก็บรวบรวมเทคนิคที่ใช้ในการปรับปรุงภาพดิจิตอล แล้วนำมาจัดสร้างเป็นเครื่องมือในการปรับปรุงภาพดิจิตอลขั้นพื้นฐาน เพื่อให้ผู้ใช้มีความสะดวกในการเลือกใช้และใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาต่อไป ในการออกแบบและสร้างเครื่องมือที่ใช้ปรับปรุงภาพดิจิตอลที่มีค่าระดับความเทา 256 ระดับ ผู้วิจัยได้ทำการพัฒนาซอฟต์แวร์บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ เครื่องมือนี้ถูกจัดแบ่งลักษณะของการปรับปรุงภาพออก เป็น 3 กลุ่ม คือ การดัดแปลงแก้ไขระดับความเทาของจุดภาพ การทำให้ภาพคมและการหาขอบของวัตถุในภาพ และการทำให้ภาพดูเนียนและการกำจัดสัญญาณรบกวน ซึ่งผู้ใช้เครื่องมือนี้สามารถทำการปรับปรุงภาพโดยใช้เทคนิคต่าง ๆ ได้อย่างต่อเนื่องและสามารถยกเลิกการทำงานครั้งหลังสุดย้อนหลังได้ 2 ครั้ง นอกจากนี้ยังมีส่วนของการบวกและลบรูปภาพ อีกทั้งยังสามารถเก็บภาพผลลัพธ์ที่ได้ไว้ในแฟ้มข้อมูลภาพได้ 2 รูปแบบคือแฟ้มข้อมูลแบบบีเอ็มพี และแฟ้มข้อมูลแบบพีซีเอ็กซ์ จากผลการวิจัยพบว่า เทคนิคที่ใช้ในการปรับปรุงภาพดิจิตอลมีอยู่หลากหลายวิธีแตกต่างกันไปซึ่งการจะเลือกใช้เทคนิคใดนั้นก็ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการใช้งานซึ่งหลาย ๆ ครั้งจะพบว่า ในการทำงานจริง เทคนิคที่ใช้ในการปรับปรุงภาพที่ดีและเหมาะสมกับงานนั้น ๆ อาจได้จากการทดลองใช้การปรับปรุงภาพโดยใช้เทคนิคต่าง ๆ ซึ่งอาจเป็นเทคนิคเดียว หรือการใช้เทคนิคต่าง ๆ ต่อเนื่องกันไปได้ดังนั้นเครื่องมือในการปรับปรุงภาพดิจิตอลนี้ ก็จะสามารถช่วยให้ผู้ใช้เครื่องมือสามารถทดลองปรับปรุงภาพและเห็นผลก่อนที่จะนำไปใช้กับงานจริงได้ นอกจากนี้เครื่องมือนี้จะช่วยให้ผู้ที่สนใจและศึกษาในวิทยาการด้านนี้ ได้มองเห็นภาพที่เกิดจากการปรับปรุงภาพโดยใช้เทคนิคต่าง ๆ ได้ดีขึ้นโดยไม่จำเป็นต้องเขียนซอฟต์แวร์เองเหมือนที่เคยเป็นมาในอดีต-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this thesis are to study and gather techniques that are used in digital image enhancement and to develop software tools. These image enhancement and to develop software tools. These image enhancement tools must be user friendly. The results from using these tools could be applied for further software development. The digital image enhancement tools were designed and developed to use with 256 -gray level images on micro-computers. The designed tools are categorized mainly in 3 groups: grayscale modification, image sharpening and edge detection, and image smoothing and noise removing. Users are allowed to freely select any provided operations continuously. Up to two operations from the last can be cancelled. In addition, image addition and subtraction are also provided The users can PCX formats. From this research, it was found that there are several digital image enhancement techniques, and which techniques should be chosen and used depend on the objective of such work. It was also found that, many times, the best results of enhancement came from trial and error of either one or more usages of enhancement techniques. Therefore, these image enhancement tools will provide users in testing and seeing results from any chosen image enhancement techniques before real work is implemented. In addition, these tools are helpful to anyone who is interested in and studies image enhancement techniques in that he or she can see the results of applying enhancement techniques without having to program it by him- or herself as it usually was in the past.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectคอมพิวเตอร์กราฟิกen_US
dc.subjectภาพดิจิทัลen_US
dc.titleการปรับปรุงภาพดิจิตอล และเครื่องมือในการปรับปรุงภาพดิจิตอลขั้นพื้นฐานen_US
dc.title.alternativeBasic digital image enhancement and toolsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมคอมพิวเตอร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorCnongluk@Gmail.com-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Srisuda_ja_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.05 MBAdobe PDFView/Open
Srisuda_ja_ch1_p.pdfบทที่ 1756.17 kBAdobe PDFView/Open
Srisuda_ja_ch2_p.pdfบทที่ 23.9 MBAdobe PDFView/Open
Srisuda_ja_ch3_p.pdfบทที่ 3889.98 kBAdobe PDFView/Open
Srisuda_ja_ch4_p.pdfบทที่ 43.1 MBAdobe PDFView/Open
Srisuda_ja_ch5_p.pdfบทที่ 5701.09 kBAdobe PDFView/Open
Srisuda_ja_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.