Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73861
Title: ผลของการเข้าร่วมกลุ่มจิตสัมพันธ์ต่อความเจริญส่วนบุคคล
Other Titles: Effects of encounter group participation on personal growth
Authors: อุบล สาธิตะกร
Advisors: โสรีย์ โพธิแก้ว
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: ไม่มีข้อมูล
Subjects: กลุ่มสังคม
การปรับตัวทางสังคม
กลุ่มสัมพันธ์
Social groups
Social adjustment
Social groups
Issue Date: 2527
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงผลของการเข้าร่วมกลุ่มจิตสัมพันธ์ต่อความเจริญส่วนบุคคล โดยมีสมมุติฐานว่า กลุ่มทดลองที่ได้เข้ากลุ่มจิตสัมพันธ์จะมีความเจริญ ส่วนบุคคลสูงกว่ากลุ่มควบคุมที่ไม่ได้เข้ากลุ่มจิตสัมพันธ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่อาสาสมัครเข้าร่วมในการวิจัย จำนวน 26 คน สุ่มแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 13 คน กลุ่มทดลองได้เข้าร่วมกลุ่มจิตสัมพันธ์ เป็นเวลาต่อเนื่อง 3 วัน 2 คืน รวมเวลาที่ใช้ในการเข้ากลุ่ม 23 ชั่วโมง โดยมีผู้วิจัยเป็น ผู้นำกลุ่มและผู้ช่วยผู้นำกลุ่มอีก 1 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบวัดความเจริญส่วน บุคคล ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง การวิจัยนี้ใช้รูปแบบการทดลองสองกลุ่มทดสอบก่อนการทดลอง และทดสอบหลังการทดลอง ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิสัยทดสอบความแตกต่างของคะแนน รวมในครั้งทดสอบก่อนการทดลอง (Pretest) และคะแนนรวมครั้งทดสอบหลังการทดลอง (Posttest) ของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยใช้การทดสอบค่าที (t-test) ของ แมกเนม่าร์ (Melemar) ผลการวิจัยปรากฏว่าผลของการเข้าร่วมกลุ่มจิตสัมพันธ์มีผล ต่อการเพิ่มความเจริญส่วนบุคคลอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01
Other Abstract: The Purpose of this research was to study the effects of encounter group participation on personal growth. The hypothesis tested was that participants in an encounter group, the experimental group, would show a growth increase whereas members of the control group would show no increase. The sample included 26 volunteer undergraduate students of Chulalongkorn University. Subjects were randomly assigned to an experimental group and a control group, each group comprising 13 students. The experimental group participated in an encounter group lasting 3 days for a total of 23 hours of group encounter. The group leaders were the researcher and a co-leader. The instrument used to measure growths was "the Personal Growth Inventory" constructed by the researcher. The randomized pretest-posttest control group design was used. The Statistical method for data analysis was the t-test of McNemar at the .01 level of significance. Results showed that encounter group participation was effective in increasing personal growth.
Description: วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527
Degree Name: ครุศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: จิตวิทยาการศึกษา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73861
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.1984.30
ISSN: 9745637645
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.1984.30
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ubol_sa_front_p.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ1.4 MBAdobe PDFView/Open
Ubol_sa_ch1_p.pdfบทที่ 15.59 MBAdobe PDFView/Open
Ubol_sa_ch2_p.pdfบทที่ 22.67 MBAdobe PDFView/Open
Ubol_sa_ch3_p.pdfบทที่ 31.13 MBAdobe PDFView/Open
Ubol_sa_ch4_p.pdfบทที่ 41.3 MBAdobe PDFView/Open
Ubol_sa_ch5_p.pdfบทที่ 5880.8 kBAdobe PDFView/Open
Ubol_sa_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก5.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.