Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74112
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินตนา ยูนิพันธุ์-
dc.contributor.authorอภิชาติ วังตระกูล-
dc.date.accessioned2021-06-25T02:28:10Z-
dc.date.available2021-06-25T02:28:10Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74112-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (พย.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบการรับรู้ความสามารถในการดูแลเด็กของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชเด็กที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว ก่อนและหลังการใช้โปรแกรมการให้ความรู้ทางสุขภาพจิต ตัวอย่างคือ ผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชเด็กที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว กลุ่มที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก ของโรงพยาบาลยุวประสาทไวยโยปถัมภ์ จังหวัดสมุทรปราการ ที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่า เป็นผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว อายุระหว่าง 6 - 9 ปี จำนวน 21 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ คู่มือการใช้โปรแกรมการให้ความรู้ทางสุขภาพจิต ตามแนวคิดสุขภาพจิตศึกษาของ Anderson (1980) ที่มีรูปแบบการให้ความรู้ ร่วมกับแนวคิดทฤษฎีการพัฒนากลุ่มของ Marram (1978) และแบบประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเองตามแนวคิดทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตนเองของ Bandura (1977) การตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ และหาค่าความเที่ยงของแบบวัดทั้งสอง เท่ากับ .94 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติทดสอบที (t-test) ผลการศึกษาที่สำคัญมีดังนี้ การรับรู้ความสามารถในการดูแลของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชเด็กที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว หลังจากการใช้โปรแกรมการให้ความรู้ทางสุขภาพจิต เพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 05-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the study was to compare child care self - efficacy of caregiver before and after using psychoeducation program. Subject of this study were twenty - one of caregivers of aggressive children with mental health problem at out-patients aged 6-9 years old of Yuwaprasartwaithayopathum hospital in Samutprakan province. The instrument of the study were the manual of psychoeducation program developed by using the theory of Anderson (1980) and theory of group process of Marram (1978) and The child care self- efficacy of caregiver that developed by the theory of self - efficacy Bandura (1977). The reliability was tested by Cronbach Alpha of the scale was .94 and .89. Data analysis was done by using descriptive statistics and paired t-test. The major finding was as follows: The perceived child care self- efficacy of caregivers after received the psychoeducation program was significantly higher than before the program (p <0.05).-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.2124-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผู้ป่วยเด็กโรคจิต -- การดูแลen_US
dc.subjectผู้ดูแล -- ไทยen_US
dc.subjectความสามารถในตนเอง -- ไทยen_US
dc.subjectMentally ill children -- Careen_US
dc.subjectCaregivers -- Thailanden_US
dc.subjectSelf-efficacy -- Thailanden_US
dc.titleการศึกษาการใช้โปรแกรมการให้ความรู้ทางสุขภาพจิตต่อการรับรู้ความสามารถในการดูแลเด็กของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชเด็กที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมภ์en_US
dc.title.alternativeA study of using psychoeducation program on caregiver's child care self-efficacy in aggressive children with mental health problems, Yuwaprasartwithayopathum Hospitalen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorJintana.Y@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.2124-
Appears in Collections:Nurse - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Apichat_wa_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ849.81 kBAdobe PDFView/Open
Apichat_wa_ch1_p.pdfบทที่ 11.23 MBAdobe PDFView/Open
Apichat_wa_ch2_p.pdfบทที่ 22.63 MBAdobe PDFView/Open
Apichat_wa_ch3_p.pdfบทที่ 31.52 MBAdobe PDFView/Open
Apichat_wa_ch4_p.pdfบทที่ 4734.5 kBAdobe PDFView/Open
Apichat_wa_ch5_p.pdfบทที่ 51.02 MBAdobe PDFView/Open
Apichat_wa_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก1.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.