Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74184
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทิศนา แขมมณี-
dc.contributor.advisorกิ่งฟ้า สินธุวงษ์-
dc.contributor.authorไสว ฟักขาว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-06-28T06:39:51Z-
dc.date.available2021-06-28T06:39:51Z-
dc.date.issued2537-
dc.identifier.issn9745843997-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74184-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการเรียนที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมายในวิชาเคมี และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีและเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ระหว่างนักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้ระบบการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้อย่างมีความหมายในวิชาเคมีกับนักเรียนที่ได้รับการสอนตามปกติ ได้ข้อค้นพบดังนี้ 1. ระบบการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้อย่างมีความหมายในวิชาเคมี มีองค์ประกอบดังนี้ 1.1 ตัวป้อนประกอบด้วย จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา ตัวนักเรียน สื่อการเรียน การสอน ตัวครู และเครื่องมือประเมิน 1.2 กระบวนการ แบ่งเป็น 2 แบบคือ กระบวนการสำหรับบทเรียนที่เป็นเนื้อหาประกอบด้วย การทดสอบมโนทัศน์พื้นฐานก่อนเรียน การนำเสนอโครงสร้างความคิดล่วงหน้า การสอนให้เกิดมโนทัศน์ การสรุปบทเรียนโดยใช้แผนผังแสดงความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศน์ และการประเมินผลการเรียนรู้ ส่วนกระบวน การแบบที่สอง เป็นกระบวนการสำหรับบทเรียนที่เป็นการทดลอง ซึ่งมีกิจกรรมเหมือนกับกระบวนการสำหรับบทเรียนที่เป็นเนื้อหา แต่มีการให้นักเรียนสร้างแผนผังรูปตัววี ประกอบเรื่องที่ทดลองด้วย 1.3 ผลผลิต ประกอบด้วย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาเคมี และเจตคติต่อ วิชาวิทยาศาสตร์ 1.4 กลไกควบคุม ประกอบด้วย การใช้คำถาม การสังเกตพฤติกรรมนักเรียน การให้ความสนใจนักเรียนทุกคน และการให้ข้อมูลป้อนกลับแก่นักเรียน 2 การทดลองใช้ระบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนประชาราษฎร์อุปถัมภ์ ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2536 ผลปรากฏว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีและเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: (1) to develop an instructional system that could help students learn mear.ingfully in Chemistry, 2) to compare Chemistry learning achievement and attitude towards science between the experimental group learned by using ir.structional system for meaningful learning in Chemistry and the control group learned by using the traditional system. The findings were as follows: 1. The instructional system for meaningful learning in Chemistry which was developed were consisted of the following components : 1.1 The input was consisted of instructional objectives, content, students, instructional media, teacher, and measuring instruments. 1.2 The process was devided into two processes. First, was the process for Chemistry content teaching consisting pre-testing learners’ basic concepts, presenting advance organizers, teaching content or concepts, having the students construct concept maps and evaluating learning outcome. Second, was the process for Chemistry content and laboratory teaching which follows the same process as the first one, only adding the construction of vee diagrams for each laboratory. 1.3 The output was consisted of Chemistry learning achievement and attitude towards science. 1.4 The controlling techniques were: questioning, observing students’ behavior, giving attention and feedback to the students.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเคมี -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectการเรียนรู้อย่างมีความหมายen_US
dc.subjectระบบการเรียนการสอนen_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen_US
dc.subjectทัศนคติen_US
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.titleการพัฒนาระบบการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้อย่างมีความหมายในวิชาเคมีen_US
dc.title.alternativeThe development of instructional system for meaningful learning in chemistryen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineหลักสูตรและการสอนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorTisana.K@chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sawai_fu_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.13 MBAdobe PDFView/Open
Sawai_fu_ch1_p.pdfบทที่ 12.49 MBAdobe PDFView/Open
Sawai_fu_ch2_p.pdfบทที่ 28.54 MBAdobe PDFView/Open
Sawai_fu_ch3_p.pdfบทที่ 32.01 MBAdobe PDFView/Open
Sawai_fu_ch4_p.pdfบทที่ 42.29 MBAdobe PDFView/Open
Sawai_fu_ch5_p.pdfบทที่ 51.85 MBAdobe PDFView/Open
Sawai_fu_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก8.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.