Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74238
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุเทพ ธนียวัน-
dc.contributor.advisorประกิตติ์สิน สีหนนทน์-
dc.contributor.authorสุจิมา รักษาศีล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-07-01T03:15:21Z-
dc.date.available2021-07-01T03:15:21Z-
dc.date.issued2533-
dc.identifier.isbn9745772895-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74238-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en_US
dc.description.abstractจากการคัดแยกราที่ก่อปัญหาบนไม้ยางพาราพบราอยู่ในกลุ่ม Syncephalustrum sp ., Rhizopus sp., Aspergillus spp., Penicillium sp., Trichoderma sp. และ Unidentified เชื้อราทุกสายพันธุ์สามารถผลิตเอนไซม์เซลลูเลสํได้ โดย Trichoderma sp. Pol1 เป็นราที่มีความสามารถผลิตเอนไชม์ได้สูงสุดทั้งในอาหารวุ้น คาร์บอกซิเมทธิลเชลลูโลส และในอาหารเหลวตามสูตรอาหารของ Mandel และ Sternberg เมื่อทดสอบผลของสารประกอกดีบุกอินทรีย์และสารฆ่าราต่อการยับยั้งการทำงานของเซลลูเลสที่ผลิตทางพาณิชย์ และเซลลูเลสที่สร้างจากตัวแทนราพบว่าสารประกอบดีบุกอินทรีย์และสารฆ่าราที่ใช้ทดสอบที่ความเข้มข้น 100 ppm มีผลค่อนข้างต่ำต่อการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ ในขณะที่ที่ความเข้มข้นต่ำกว่าสามารถยับยั้งการงอกของสปอร์และการเจริญของสายใยรา พบว่า บิสไตรบิวทิลทินออกไซค์ (T.B.T.O) ที่สังเคราะห์โดยภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีประสิทธิภาพสูงสุด โดย T.B.T.C เข้มข้นต่ำกว่า 200 ppm และ 60 ppm สามารถยับยั้งการงอกของสปอร์และการเจริญของสายใยแบบกึ่งฆ่าได้ เมื่อศึกษากลไกการยับยั้งการงอกของสปอร์ พบว่าการยับยั้งการงอกของสปฺอร์มี 3 แบบ คือ การยับยั้งการงอกแบบชั่วคราว การยับยั้งการงอกแบบกึ่งฆ่า และการยับยั้งการงอกที่ให้ผลฆ่าสปอร์ พบว่า T.B.T.O. เข้มข้น 2 ppm ให้ผลยับยั้งการงอกของสปอร์ Trichoderma sp . Pol1 แบบชั่วคราว คือ สปอร์ถูกยับยั้งการงอกในระบบที่มี T.B.T.O. แต่สามารถงอกในอาหารใหม่ได้ ขณะที่ที่ 5 ppm เมื่อบ่มกับ สปอร์นาน 24 ชม. จะให้ผลยับยั้งแบบกึ่งฆ่า คือ พบผลการยับยั้งการงอกของสปอร์ในระบบที่มี T.B.T.O. และในอาหารเลี้ยงเชื่อใหม่ แต่พบว่าเมื่อเติม Tween 80 ลงในระบบการยับยั้งการงอกของสปอฺร์จะสามารถทำให้สปอร์ที่ถูกยับยั้งแบบกึ่งฆ่ากลับงอกขึ้นใหม่ได้ เมื่อเพิ่มระยะเวลาบ่มสปอร์ในระบบทีมี T.B.T.O. เป็น 72 ชม. แล้วสปอร์จะถูกฆ่า พบว่ามีการนำ T.B.T.O . เข้าไปภายในสปอร์แล้วมีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะบางอย่างของสปอร์รุ่นต่อ ๆ มา การยับยั้งการงอกของสปอร์โดยสารประกอบ ดีบุกอินทรีย์คาดว่าเกิดจากการที่สารประกอบดีบุกอินทรีย์เข้าสู่เซลล์และขัดขวางระบบเมตาบอลิสมของสปอร์ และอาจจับอยู่บนผิวสปอร์ทำให้ขัดขวางการนำสารอาหารเข้าสู่สปอร์ได้ นอกจากนี้ยังพบว่า T.B.T.O. สามารถยับยั้งการเจริญของสายใยและยับยั้งการส์ร้างสปอร์โดยมีกลไกการยับยั้ง 3 แบบ เช่นเดียวกับกรณีการยับยั้งการงอกของสปอร์-
dc.description.abstractalternativeRubber wood infected fungi were isolated and characterized as member of Syncephalustrum sp., Rhizopus sp., Aspergillus spp., Penicillium sp., Trichoderma sp. and few other unidentified strains. All isolated were found capable of prodàucing enzyme cellulase. Among them, the Trichoderma sp. Po1 give the highest yield of cellulase when cultivated in both carboxymethyl cellulose agar and Mandel & Sternberg's liquid medium. All of organotin compounds and fungicidal compounds tested, at concentration of 100 ppm gave poor inhibitory effect on cellulase activity of both commercial and crude enzyme from isolated fungi. It was found that at the smaller dose these compounds gave the inhibitory effect on spore germination as well as mycelial growth. Bis-tributyltin oxide (T.B,T.O.) synthesized by Dept of Chemistry was found to be the most potent agent by which at concentration lesser than 20 and 60 ppm could inhibit spore germination and exerted sublethal effect on mycelial growth respectively. Three types of inhibitory effect were characterized as static effect, sublethal effect and cidal effect. At concentration of 2 ppm T.B.T.O. gave static effect on Trichoderma sp. Po1 spore germination; could not germinate in T.B.T.O. system but germinated in fresh medium while at 5 ppm at 24 hours for incubation a sublethal effect was obserbed, this effect could not germinate in both T.B.T.0. system and fresh medium but could be reverse by the addition of Tween 80 into the inhibition system. Upon prolong the incubation time in T.B.T.O. system to 72 hours cidal effect of spore was observed. The inhibition of spore germination is probably due to the accumulation of T.B.T.O. in vegetative cell that somehow affect the metabolism of the vegetative cell as well as the binding on spore coat may interfere with nutrient uptake into cell. The same compound was also found inhibit mycelial growth and spore formation on fungi tested, 3 level of effects resemble the inhibition of spore germination were also detected.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสารประกอบดีบุกอินทรีย์en_US
dc.subjectเชื้อราen_US
dc.subjectเซลลูเลสen_US
dc.subjectลิกนินen_US
dc.subjectOrganotin compoundsen_US
dc.subjectFungien_US
dc.subjectCellulaseen_US
dc.subjectLigninen_US
dc.titleผลของสารประกอบดีบุกอินทรีย์ต่อราที่สร้างเอนไซม์ เซลลูเลสen_US
dc.title.alternativeEffects of organotin compounds on cellulase producing fungien_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจุลชีววิทยาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSuthep.T@Chula.ac.th-
dc.email.advisorsprakits@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sugima_ru_front_p.pdf1.13 MBAdobe PDFView/Open
Sugima_ru_ch1_p.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open
Sugima_ru_ch2_p.pdf1.69 MBAdobe PDFView/Open
Sugima_ru_ch3_p.pdf3.89 MBAdobe PDFView/Open
Sugima_ru_ch4_p.pdf1.13 MBAdobe PDFView/Open
Sugima_ru_back_p.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.