Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74261
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต-
dc.contributor.authorอารีรัตน์ บากาสะแต-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-07-01T06:58:15Z-
dc.date.available2021-07-01T06:58:15Z-
dc.date.issued2533-
dc.identifier.isbn9745781029-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74261-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาพฤติกรรมแปรร่วมจากการเพิ่มพฤติกรรมการทำงาน ตามที่ครูมอบหมาย โดยใช้หลักชองพรีแมคและสัญญาเงื่อนไข กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 2 จำนวน 3 คน และ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 3 คน โรงเรียนวัดหัวลำโพง กรุงเทพมหานคร สุ่มนักเรียนเป็นกลุ่มทดลอง 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 โขหลักของนรีแมค กลุ่มที่ 2 ใช้สัญญาเงื่อนไข งานวิจัยนี้ใช้การทดลองแบบสลับกลับ (ABAB REVERSAL DESIGN) เก็บรวบรวม ข้อมูลโดยการสังเกตและบันทึกพฤติกรรมและผลของพฤติกรรมในชั่วโมงวิชาคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1. เมื่อพฤติกรรมการทำงานตามที่ครูมอบหมายของนักเรียนเพิ่มขึ้น พฤติกรรมตั้งโจเรียนของนัก เรียนขณะครูสอนเพิ่มขึ้น 2. เมื่อพฤติกรรมการบทำงานตามที่ครูมอบหมายของนักเรียนเพิ่มขึ้น พฤติกรรมการคุยของนักเรียนขณะครูสอนและพฤติกรรมการคุยของนักเรียนขณะทำงานตามที่ครูมอบหมายลดลง 3. เมื่อพฤติกรรมการทำงานตามที่ครูมอบหมายของนักเรียนเพิ่มขึ้น ความถูกต้องของงานของนักเรียนเพิ่มขึ้น-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research study the was to response covariation on increasing performance on teacher assigned tasks by using Premack's principle and contingency contract of primary school students. Two groups of Prathom Suksa Students from Wathua lampong Bangkok School were used in this research: contingency contract was used with the first group that included 3 Prathom Suksa three students, the Premack's Principle was used with the second group that included 3 Prathom Suksa two students. ABAB reversal design was used in this research. The date on behavior and behavior products in mathematics period were collected through observation and analyzed by using percentages. Results show that: 1. When students' performance on teacher assigned tasks increased, their attending behavior during instruction increased. 2. When students' performance on teacher assigned tasks increased, their talking behavior during instruction and during performing teacher assigned tasks decreased. 3. When students' performance on teacher assigned tasks increased, correct performance increased.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการปรับพฤติกรรมen_US
dc.subjectพฤติกรรมการเรียนen_US
dc.subjectBehavior modificationen_US
dc.subjectLearning behavioren_US
dc.titleการศึกษาพฤติกรรมแปรร่วมจากการเพิ่มพฤติกรรมการทำงาน ตามที่ครูมอบหมายโดยใช้หลักของพรีแมคและสัญญาเงื่อนไข ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาen_US
dc.title.alternativeStudy of response covariation as a result of increasing performance of primary school students on teacher assigned tasks by using premack's principle and contingency contracten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Areeratana_ba_front_p.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open
Areeratana_ba_ch1_p.pdf2.61 MBAdobe PDFView/Open
Areeratana_ba_ch2_p.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open
Areeratana_ba_ch3_p.pdf3.55 MBAdobe PDFView/Open
Areeratana_ba_ch4_p.pdf939.43 kBAdobe PDFView/Open
Areeratana_ba_ch5_p.pdf941.08 kBAdobe PDFView/Open
Areeratana_ba_back_p.pdf1.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.