Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74310
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพ็ญพักตร์ อุทิศ-
dc.contributor.authorกนกวรรณ แสงนภาบวร-
dc.date.accessioned2021-07-02T04:54:51Z-
dc.date.available2021-07-02T04:54:51Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74310-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (พย.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการดำเนินโครงการศึกษาอิสระ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบภาวะซึมเศร้า ของผู้ป่วยเอดส์ก่อนและหลังได้รับการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มที่เน้นการพิจารณาเหตุผล อารมณ์และ พฤติกรรม กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยเอดส์ที่เข้าโครงการยาต้านไวรัสเอดส์ของโรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา จำนวน 20 คน ได้จากการคัดเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์คุณสมบัติจากผู้ป่วยเอดส์ที่มารับบริการที่งาน ปรึกษาสุขภาพ แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ รูปแบบการ ให้คำปรึกษาแบบกลุ่มที่เน้นการพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรม ซึ่งพัฒนามาจากทฤษฎีบุคลิกภาพ แบบ A B-C ของ Ellis (1961) ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน กำกับการศึกษาโดยใช้การประเมินความคิดอัตโนมัติด้านลบของ Hollon and Kendall (1980) เครื่องมือในการ เก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบวัดภาวะซึมเศร้าด้วยตนเองของ Beck (Beck Depression Inventory) ซึ่งเครื่องมือ ทั้ง 2 ชุด มีค่าความเที่ยงโดยใช้สัมประสิทธิ์อัลฟา ตามวิธีของคอนบราค เท่ากับ 0.81 เท่ากัน สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบความแตกต่างของ คะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้าก่อนและหลังการดําเนินโครงการโดยใช้สถิติทดสอบที (Dependent t-test) ผลการศึกษา พบว่าคะแนนเฉลี่ยของภาวะซึมเศร้าหลังให้คําปรึกษาแบบกลุ่มที่เน้นการพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม มีค่าต่ํากว่าก่อนให้คําปรึกษาแบบกลุ่มที่เน้นการพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรม อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ< .05 (x̅ = 13.35 และ x̅ = 22.50 ตามลําดับ, t= 5.28)-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of independent study project was to compare depression of AIDS patients before and after using counseling emphasizing rational emotive behavior model. The sample of 20 depressed persons with HIV who were enrolled in the Antiviral Drug Therapy Program and met the inclusion criteria were purposively recruited form counseling unit, out patient department, Pranakom Sri Ayutthaya Hospital. The instrument used in this study was the counseling emphasizing rational emotive behavior model which was developed based on A-B-C personality theory of Ellis (1961). It was validated by 3 professional experts. The Automatic Thoughts Questionaire (Hollon and Kendall, 1980) was used to monitor the study intervention. Data were collected using the modified Beck Depression Inventory. The Cronbach's Alpha coefficient reliability of the two latter instruments were .81 and .81, respectively. The study data were analyzed using percentage, mean, and standard deviation. Dependent t-test was used to compare mean different of pretest and posttest depression scores. Major findings were as follows : The finding revealed that mean depression scores of AIDS patients after using counseling emphasizing rational emotive behavior model were significantly lower than at p<.05 level ( x̅ = 13.35 and 22.50 respectively, t = 5.28).-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.2135-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม -- ไทยen_US
dc.subjectโรคเอดส์ -- ผู้ป่วย -- ไทยen_US
dc.subjectความซึมเศร้า -- ไทยen_US
dc.subjectGroup counseling -- Thailanden_US
dc.subjectAIDS (Disease) -- Patients -- Thailanden_US
dc.subjectDepression -- Thailanden_US
dc.titleการศึกษาการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มที่เน้นการพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรมต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยเอดส์โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยาen_US
dc.title.alternativeA study of using group counseling emphasizing rational emotive behavior model on depression of aids patients, Pranakorn Sri Ayutthaya Hospitalen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPenpaktr.U@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.2135-
Appears in Collections:Nurse - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kanokwan_sa_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ833.61 kBAdobe PDFView/Open
Kanokwan_sa_ch1_p.pdfบทที่ 11.45 MBAdobe PDFView/Open
Kanokwan_sa_ch2_p.pdfบทที่ 22.85 MBAdobe PDFView/Open
Kanokwan_sa_ch3_p.pdfบทที่ 31.98 MBAdobe PDFView/Open
Kanokwan_sa_ch4_p.pdfบทที่ 4741.04 kBAdobe PDFView/Open
Kanokwan_sa_ch5_p.pdfบทที่ 51.14 MBAdobe PDFView/Open
Kanokwan_sa_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก3.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.