Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74337
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วันชัย ริจิรวนิช | - |
dc.contributor.advisor | จรูญ มหิทธาฟองกุล | - |
dc.contributor.author | อุบลรัตน์ อุ่นประเสริฐพงศ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2021-07-05T05:57:55Z | - |
dc.date.available | 2021-07-05T05:57:55Z | - |
dc.date.issued | 2533 | - |
dc.identifier.isbn | 9745773123 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74337 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533 | en_US |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการศึกษาปัญหา และวิธีการจัดระบบควบคุมการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตรถไถนาขนาดเล็ก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของโรงงานประเภทนี้ จากการสำรวจและศึกษาพบว่า โรงงานอุตสาหกรรมประเภทนี้มักประสบปัญหาด้านการบริหารการผลิต มีผลทำให้ชั่วโมงการทำงานล่วงเวลาสูง % การขาดงานสูงมีปัญหาด้านการควบคุมพัสดุคงคลังทำให้สินค้าขาดแคลนอยู่เสมอ และปัญหาในด้านควบคุมคุณภาพ รวมทั้งการเกิดจุดคอคอดในการผลิต ซึ่งส่งผลให้การผลิตล่าช้าประสิทธิภาพการผลิตของโรงงานต่ำ ต้นทุนการผลิตสูง การใช้ระบบควบคุมการผลิตโดยเน้นที่ระบบเอกสาร การใช้ใบสั่งผลิต การประชุมติดตามปัญหาการผลิต การประเมินผลการทำงานสามารถช่วยให้ระบบการผลิตดีขึ้น ผลการวิจัยสรุปได้ว่าสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้กับโรงงานตัวอย่างจากเดิม โดยเปรียบเทียบผลผลิต/ชม. แรงงาน ในช่วงเวลาเดียวกันของแต่ละปีก่อนการปรับปรุง = .0143 ช่วงหลังการปรับปรุง = .0162 ซึ่งเพิ่มขึ้น 13.29% และผลการการทำงานล่วงเวลาเทียบกับเวลาทำงานปกติ ช่วงก่อนปรับปรุงช่วงหลังการปรับปรุง = 5.53% ซึ่งสามารถลดอัตราการทำงานล่วงเวลาได้ = 68.92% โดยที่ผลผลิตรวมมีค่าเพิ่มขึ้น คือ ก่อนปรับปรุง 515 คัน และ หลังปรับปรุง 648 คัน และสามารถลดอัตราการขาดงานของคนงานจากเดิม 12.49% เหลือ 10.04% ซึ่งลดลง 18.99% นอกจากนี้ยังได้เสนอแนวทางแก้ไขจุดคอคอดแผนกผลิตโดยการเพิ่มกำลังคนและเพิ่มเครื่องจักรในแผนกกลึง1 ซึ่งคาดว่าจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตชิ้น 50% | - |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research is to study the production control system problem for the purpose of the increase in productivity Surveys in power tiller industry revealed that this industry always encounters with the problem of production management. This problem resulted in high overtime hours, high percentage of labour absence. Furthermore, it also resulted in inventory control problem, quality control problem, bottle neck in process. These, in turn, led to material shortage, the delay in production, low efficiency and high production cost. To solve the above mentioned problems, the production control process emphasized on information filing system and production ordering should be implemented. Discussion on product ion problems and evaluating on working of labour can help the production system to become more efficient. It can be concluded from this research that there was an increase in productivity in term oft finished product / man. hour from 0.0143 to 0.0162 which was 13. 29%. The percentage of overtime / regular time reduce from 17.79% to 5.53%. That was 68.92%. The average production was before improvement was 515 units and after improvement was 648 units. In addition to these findings, the study introduced the way to rectify the bottle neck by increasing the machine and labour in lath1 department. It was estimated that this could increase productivity in lath1 department by 50%. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การควบคุมการผลิต | en_US |
dc.subject | อุตสาหกรรมรถไถนาขนาดเล็ก -- การควบคุมการผลิต | en_US |
dc.subject | การบริหารงานผลิต | en_US |
dc.subject | การควบคุมพัสดุคงคลัง | en_US |
dc.subject | การควบคุมคุณภาพ -- ไทย | en_US |
dc.subject | ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ | en_US |
dc.subject | Production control | en_US |
dc.subject | Production management | en_US |
dc.subject | Quality control -- Thailand | en_US |
dc.subject | Management information systems | en_US |
dc.title | ระบบควบคุมการผลิตในอุตสาหกรรมการผลิตรถไถนาขนาดเล็ก | en_US |
dc.title.alternative | Production control system in the power tiller industry | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Vanchai.R@chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Charoon.M@Chula.ac.th, fiecmh@eng.chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Ubolrat_ou_front_p.pdf | 1.08 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ubolrat_ou_ch1_p.pdf | 1.22 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ubolrat_ou_ch2_p.pdf | 1.85 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ubolrat_ou_ch3_p.pdf | 1.58 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ubolrat_ou_ch4_p.pdf | 2.34 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ubolrat_ou_ch5_p.pdf | 1.82 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ubolrat_ou_ch6_p.pdf | 2.31 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ubolrat_ou_ch7_p.pdf | 816.03 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Ubolrat_ou_back_p.pdf | 5.46 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.