Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74342
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กล่อมจิตต์ พลายเวช | - |
dc.contributor.author | นัยนา จิตรรังสรรค์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2021-07-05T07:46:24Z | - |
dc.date.available | 2021-07-05T07:46:24Z | - |
dc.date.issued | 2533 | - |
dc.identifier.isbn | 9745772038 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74342 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์วรรณกรรมญี่ปุ่นที่แปลเป็นภาษไทยในด้านเนื้อหาแนวคิด รูปเล่ม และราคา ระหว่างปี พ.ศ. 2520 ถึง 2529 การวิจัยครั้งนี้เป็นการสำรวจโดยสร้างเกณฑ์การกำหนด หัวข้อเนื้อหา แนวคิด รูปเล่ม และราคาขึ้น แล้วนำไปให้ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านการแปลวรรณกรรมญี่ปุ่นเป็นภาษาไทยตรวจสอบ เพื่อนำมาสร้างตารางการสำรวจสำหรับใช้ในการวิจัย ผู้วิจัยได้นำตารางการสำรวจมาวิเคราะห์ โดยหาค่าความถี่เฉลี่ยและค่าร้อยละ ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. ในระหว่างปี พ.ศ. 2520 ถึง 2529 มีวรรณกรรมญี่ปุ่นที่แปลเป็นภาษาไทย จำนวน 50 เล่ม ในปี พ.ศ. 2529 มีจำนวนสูงสุดถึง 17 เล่ม แต่ปี พ.ศ. 2525 ไม่ปรากฎจำนวนเล่ม 2. เนื้อหาของวรรณกรรมญี่ปุ่นที่แปลเป็นภาษาไทยทั้ง 50 เล่มที่นำมาวิจัยมี 5 กลุ่มใหญ่ๆ คือ 1) เนื้อหาแสดงอารมณ์และความรู้สึก 2) เนื้อหาสะท้อนชีวิตและปัญหาสังคม 3) เนื้อหาแสดงสภาพทางการเมือง 4) เนื้อหาเกี่ยวกับศาสนา 5) เนื้อหาอื่นๆ นอกเหนือจากที่กล่าวมาข้างต้นได้แก่ สัตว์พูดได้ อิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ เทพนิยาย และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เนื้อหาสะท้อนชีวิตและปัญหาสังคมเป็นหัวข้อที่มีมากที่สุดและเนื้อหาเกี่ยวกับศาสนาเป็นหัวข้อที่มีน้อยที่สุดในวรรณกรรมญี่ปุ่นที่แปลเป็นภาษาไทย 3. แนวคิดของวรรณกรรมญี่ปุ่นที่แปลเป็นภาษาไทยทั้ง 50 เล่ม ที่นำมาวิจัยมี 3 กลุ่มใหญ่ๆ คือ 1) แนวคิดการนับถือลัทธิชินโต 2) แนวคิดการนับถือลัทธิขงจื๊อ 3) ความเชื่อที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาต่างๆ ความเชื่อที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาต่างๆ เป็นหัวข้อที่มีมากที่สุดและแนวคิดการนับถือลัทธิขงจื๊อเป็นหัวข้อที่มีน้อยที่สุดในวรรณกรรมญี่ปุ่นที่แปลเป็นภาษาไทย 4. รูปเล่มของวรรณกรรมญี่ปุ่นที่แปลเป็นภาษาไทย ส่วนใหญ่มีขนาด 16 หน้ายก พิมพ์ด้วยกระดาษปอนด์ เย็บเล่มแบบทากาวหรือไสกาวมีจำนวนหน้าประมาณ 151-200 หน้าทุกเล่มเป็นปกอ่อนราคาอยู่ระหว่าง 20-29 บาท | - |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to survey and analyze the titles contents, concepts, formats and prices of Japanese literature translated into Thai from 1977-1986. The criteria used in this survey was inspected by the translators. The collected data was analyzed by using average and percentage calculations. The major research findings were as follows: 1. The publishing of Japanese literature translated into Thai from 1977-1986 were 50 titles. The maximum was 17 titles in 1986 and the minimum was l title in 1980, 1981 and 1984. There was nothing in 1982. 2. The contents were categorized into 5 subjects : 1) emotion and feeling; 2) way of life and social problem; 3) political statue; 4) religion; and 5) others, such as talking animal, super natural, fairy tale and sacrosanctity. Most of the subject stressed on way of life and social problem, while religion was the least emphasis. 3. The concept of 50 Japanese literature titles translated into Thai were categorized into 3 subjects: 1) concept of belief in Shinto; 2) concept of belief in Confucianism; and 3) belief effected by religions. Most of the subject stressed on concept of belief effected by religions, while concept of belief in confucianism was the least emphasis. 4. Most of the publishing formats translated into Thai were in octavo, printed with bond paper, sewn in glue attached, 151-200 pages and all kinds of them were in soft cover, cost around 20-29 baht. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การวิเคราะห์เนื้อหา | en_US |
dc.subject | วรรณกรรมญี่ปุ่น -- ประวัติและวิจารณ์ | en_US |
dc.subject | การแปลและการตีความ | en_US |
dc.subject | Content analysis (Communication) | en_US |
dc.subject | Japanese literature -- History and criticism | en_US |
dc.subject | Translating and interpreting | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์เนื้อหาวรรณกรรมญี่ปุ่น ที่แปลเป็นภาษาไทย | en_US |
dc.title.alternative | Content analysis of Japanese literature translated into Thai | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | บรรณารักษศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Naiyana_ch_front_p.pdf | 934.04 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Naiyana_ch_ch1_p.pdf | 990.33 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Naiyana_ch_ch2_p.pdf | 1.05 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Naiyana_ch_ch3_p.pdf | 1.11 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Naiyana_ch_ch4_p.pdf | 4.43 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Naiyana_ch_ch5_p.pdf | 1.13 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Naiyana_ch_back_p.pdf | 3.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.