Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74417
Title: การศึกษาการใช้กลุ่มบำบัดประคับประคองต่อการปรับตัวทางสังคมของผู้ป่วยจิตเภทที่มารับการรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลองครักษ์
Other Titles: A study of group supportive therapy on social adjustment of schizophrenic patients, Outpatient Department, Ongkarak Hospital
Authors: รุ่งทิพย์ จันทราช
Advisors: อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย
Advisor's Email: Oraphun.Lu@chula.ac.th
Subjects: การปรับตัวทางสังคม -- ไทย
ผู้ป่วยจิตเภท -- ไทย
จิตบำบัดแบบประคับประคอง -- ไทย
Social adjustment -- Thailand
Schizophrenics -- Thailand
Supportive psychotherapy -- Thailand
Issue Date: 2550
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการปรับตัวทางสังคมของผู้ป่วยจิตเภท ที่มารับการรักษาที่แผน กผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลองครักษ์ ก่อนและหลังการใช้กลุ่มบำบัด ประคับประคอง กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยจิตเภท จำนวน 20 คน ซึ่งตัดเลือกแบบเจาะจงตาม คุณสมบัติที่กำหนดไว้ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ โปรแกรมกลุ่มบำบัดประคับประคองและแบบวัดการปรับตัวทางสังคม ของผู้ป่วยจิตเภท ซึ่งได้ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดย ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน และหาค่าความเที่ยงของแบบวัดการปรับตัวทางสังคมของผู้ป่วยจิตเภท ได้ค่าความเที่ยงของแบบวัดเท่ากับ .86 วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และสถิติทดสอบค่า ที (paired t- test ) ผลการศึกษาที่สำคัญสรุปได้ดังนี้ การปรับตัวทางสังคมของผู้ป่วยจิตเภท หลังใช้กลุ่มบำบัดประคับประคอง สูง ขึ้นกว่า ก่อนใช้กลุ่มบำบัดประคับประคอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05
Other Abstract: The purpose of this study was to compare social adjustment of schizophrenic patients, outpatient department Ongkarak Hospital before and after using group supportive therapy. Sample of this study were 20 schizophrenic patients, who met the inclusion criteria. The instruments for this study were group supportive therapy program and social adjustment scale. The instruments were examined for content validity by three professional experts and test for reliability of the scales. The reliability of the scale was .86. Statistical techniques for data analysis were percentage, mean, standard deviation and paired t - test. The major findings was as follow: The social adjustment of schizophrenic patients after using group supportive therapy was significantly higher than before using group supportive therapy, at the .05 level
Description: สารนิพนธ์ (พย.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550
Degree Name: พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74417
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.2206
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2007.2206
Type: Independent Study
Appears in Collections:Nurse - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rungtip_ju_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ835.43 kBAdobe PDFView/Open
Rungtip_ju_ch1_p.pdfบทที่ 11.25 MBAdobe PDFView/Open
Rungtip_ju_ch2_p.pdfบทที่ 22.82 MBAdobe PDFView/Open
Rungtip_ju_ch3_p.pdfบทที่ 31.42 MBAdobe PDFView/Open
Rungtip_ju_ch4_p.pdfบทที่ 4700.63 kBAdobe PDFView/Open
Rungtip_ju_ch5_p.pdfบทที่ 51.03 MBAdobe PDFView/Open
Rungtip_ju_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก2.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.