Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74488
Title: | การศึกษาการใช้โปรแกรมสร้างเสริมสุขภาพต่อพฤติกรรมป้องกันการป่วยซ้ำของผู้ป่วยจิตเภท โรงพยาบาลจิตเวชสระแก้วราชนครินทร์ |
Other Titles: | A study of heatlh promoting program on relapse prevention behavior in schizophrenic patients, Sakaeo Rajanakarindra Psychiatric Hospital |
Authors: | สุนิสสา พันธ์สงวนสุข |
Advisors: | อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย |
Advisor's Email: | Oraphun.Lu@chula.ac.th |
Subjects: | ผู้ป่วยจิตเภท -- ไทย การส่งเสริมสุขภาพ -- ไทย Schizophrenics -- Thailand Health promotion -- Thailand |
Issue Date: | 2550 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมป้องกันการป่วยซ้ําของผู้ป่วย จิตเภทก่อนและหลังได้รับโปรแกรมสร้างเสริมสุขภาพ โรงพยาบาลจิตเวชสระแก้วราชนครินทร์ กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยจิตเภทได้รับการคัดเลือกแบบเจาะจง จํานวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ โปรแกรมพฤติกรรมป้องกันการป่วยซ้ำของผู้ป่วยจิตเภท ได้ตรวจสอบความตรงของเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จํานวน 3 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบประเมินพฤติกรรมป้องกันการป่วยซ้ำของผู้ป่วยจิตเภท มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 81 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติเชิงพรรณนา และ วิเคราะห์ค่าเฉลี่ยโดยสถิติทดสอบ Wilcoxon Sign Rank Test ผลการศึกษา สรุปได้ดังนี้ คะแนนพฤติกรรมป้องกันการป่วยซ้ำของผู้ป่วยจิตเภทหลังได้รับโปรแกรมสร้างเสริม สุขภาพ ดีกว่าอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 |
Other Abstract: | The purpose of this study was to compare the relapse prevention behavior in schizophrenic patients before and after using health promotion program. A purposive sample were 20 schizophrenic patients of Sakaeo Rajanakarindra Psychiatric Hospital. The instruments were health promotion program, which validated by 3 experts and the relapse prevention behavior questionnaires was used for data collection. The Cronbach's Alpha coefficient reliability of the questionnaires were .81. Data were analyzed by using descriptive statistics and Wilcoxon Sign Rank Test. Major findings was as follows: The relapse prevention behavior in schizophrenic patients after health promotion program was significantly increased at the .05 level. |
Description: | สารนิพนธ์ (พย.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 |
Degree Name: | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74488 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.2208 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2007.2208 |
Type: | Independent Study |
Appears in Collections: | Nurse - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sunissa_ph_front_p.pdf | หน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ | 828.08 kB | Adobe PDF | View/Open |
Sunissa_ph_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 1.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sunissa_ph_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 2.74 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sunissa_ph_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 1.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sunissa_ph_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 747.57 kB | Adobe PDF | View/Open |
Sunissa_ph_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 1.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sunissa_ph_back_p.pdf | รายการอ้างอิงและภาคผนวก | 1.52 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.