Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74497
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริชัย ศิริกายะ-
dc.contributor.authorประสพโชค นวพันธุ์พิพัฒน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-07-15T01:59:34Z-
dc.date.available2021-07-15T01:59:34Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746385925-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74497-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 254en_US
dc.description.abstractการศึกษาเรื่อง "การใช้รหัสที่ปรากฏในงานของนักเขียนการ์ตูนไทย" นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อชี้ให้เห็นและเข้าใจถึงการเลือกใช้รหัสของนักเขียนการ์ตูนไทย ในการถ่ายทอดทัศนคติและความคิดของตนมายังผู้อ่าน และเพื่อวิเคราะห์ให้ทราบถึงลักษณะเฉพาะในการใช้รหัสตามประเภทของการ์ตูนที่แตกต่างกัน อันจะสามารถนำมาเป็นแนวทางในการสร้างสรรค์ "ตัวสาร" ให้เหมาะสมกับผู้รับสารและเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้การศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลจากผลงานและสัมภาษณ์เจาะลึกนักวาดการ์ตูนประเภทต่างๆ ที่มีชื่อเรื่อง นำมาวิเคราะห์ผลโดยอาศัยกรอบทฤษฎีและแนวคิดต่างๆ ผลจากการศึกษาการ์ตูน 3 ประเภทคือ การ์ตูนการเมือง การ์ตูนเด็ก การ์ตูนตลกพบว่า ประเภทของการ์ตูนที่แตกต่างกัน จะมีการใช้รหัสที่คล้ายคลึงกันแต่วางน้ำหนักความสำคัญไม่เท่ากัน เช่นรหัสเฉพาะของการ์ตูน รหัสภาษา มุข และรหัสเสริมอื่นๆ ขณะเดียวกันก็มีข้อแตกต่างที่เห็นได้เด่นชัดคือ ส่วนใหญ่ของการ์ตูนการเมืองต้องการตัวอ้างอิง ขณะที่การ์ตูนเด็กและการ์ตูนตลกไม่ต้องการตัวอ้างอิงถึง และยังมีปริบทอื่นๆ ที่เข้ามามีอิทธิพลต่อการใช้รหัส เช่นเงื่อนไขเวลา วัฒนธรรมประสบการณ์เป็นต้น นอกจากนี้ เมื่อมุ่งศึกษาในปริบททางวัฒนธรรมจะเป็นว่า โลกของการ์ตูนเป็นโลกสมมติ ที่ได้สร้างวัฒนธรรมการ์ตูนเฉพาะของตนเองขึ้นมาชุดหนึ่ง เป็นวัฒนธรรมที่ยอมรับร่วมกันระหว่างผู้วาดในฐานะผู้ส่งสารและผู้ดูการ์ตูนในฐานะผู้รับสารen_US
dc.description.abstractการศึกษาเรื่อง "การใช้รหัสที่ปรากฏในงานของนักเขียนการ์ตูนไทย" นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อชี้ให้เห็นและเข้าใจถึงการเลือกใช้รหัสของนักเขียนการ์ตูนไทย ในการถ่ายทอดทัศนคติและความคิดของตนมายังผู้อ่าน และเพื่อวิเคราะห์ให้ทราบถึงลักษณะเฉพาะในการใช้รหัสตามประเภทของการ์ตูนที่แตกต่างกัน อันจะสามารถนำมาเป็นแนวทางในการสร้างสรรค์ "ตัวสาร" ให้เหมาะสมกับผู้รับสารและเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้การศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลจากผลงานและสัมภาษณ์เจาะลึกนักวาดการ์ตูนประเภทต่างๆ ที่มีชื่อเรื่อง นำมาวิเคราะห์ผลโดยอาศัยกรอบทฤษฎีและแนวคิดต่างๆ ผลจากการศึกษาการ์ตูน 3 ประเภทคือ การ์ตูนการเมือง การ์ตูนเด็ก การ์ตูนตลกพบว่า ประเภทของการ์ตูนที่แตกต่างกัน จะมีการใช้รหัสที่คล้ายคลึงกันแต่วางน้ำหนักความสำคัญไม่เท่ากัน เช่นรหัสเฉพาะของการ์ตูน รหัสภาษา มุข และรหัสเสริมอื่นๆ ขณะเดียวกันก็มีข้อแตกต่างที่เห็นได้เด่นชัดคือ ส่วนใหญ่ของการ์ตูนการเมืองต้องการตัวอ้างอิง ขณะที่การ์ตูนเด็กและการ์ตูนตลกไม่ต้องการตัวอ้างอิงถึง และยังมีปริบทอื่นๆ ที่เข้ามามีอิทธิพลต่อการใช้รหัส เช่นเงื่อนไขเวลา วัฒนธรรมประสบการณ์เป็นต้น นอกจากนี้ เมื่อมุ่งศึกษาในปริบททางวัฒนธรรมจะเป็นว่า โลกของการ์ตูนเป็นโลกสมมติ ที่ได้สร้างวัฒนธรรมการ์ตูนเฉพาะของตนเองขึ้นมาชุดหนึ่ง เป็นวัฒนธรรมที่ยอมรับร่วมกันระหว่างผู้วาดในฐานะผู้ส่งสารและผู้ดูการ์ตูนในฐานะผู้รับสาร-
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study of "The Use of Codes in the Works of Thai Cartoonist" are : (1) to identify and understand how Thai cartoonists choose the codes in conveying their ideals and ideas to the readers (2) to analyze the characteristic in using different set of codes for different types of cartoons so that it may be used in the creation of effective communication to match the audience. This research is done qualitatively by collection of samples and in-depth interviews of well-known cartoonists. Analysis is based on various theories and concepts. The results from the study of 3 types of cartoons i.e. political cartoons, children cartoon and comic cartoon; show that different types of cartoons use similar codes but differ in the weight of importance given in different areas e.g. specific codes of cartoon, language code, device and other accessories. Simultaneously, it is significantly different in that political cartoons require referents while children or comic cartoons do not. Other context also comes into play in the use of codes e.g. time condition, culture, experiences etc. Moreover, when focusing in the cultural context, it would seem that the world of cartoon is a make-belief world that has created specifically a set of cartoon culture for itself. This culture has been mutually accepted by the cartoonists as the senders and the readers as the receivers.en_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study of "The Use of Codes in the Works of Thai Cartoonist" are : (1) to identify and understand how Thai cartoonists choose the codes in conveying their ideals and ideas to the readers (2) to analyze the characteristic in using different set of codes for different types of cartoons so that it may be used in the creation of effective communication to match the audience. This research is done qualitatively by collection of samples and in-depth interviews of well-known cartoonists. Analysis is based on various theories and concepts. The results from the study of 3 types of cartoons i.e. political cartoons, children cartoon and comic cartoon; show that different types of cartoons use similar codes but differ in the weight of importance given in different areas e.g. specific codes of cartoon, language code, device and other accessories. Simultaneously, it is significantly different in that political cartoons require referents while children or comic cartoons do not. Other context also comes into play in the use of codes e.g. time condition, culture, experiences etc. Moreover, when focusing in the cultural context, it would seem that the world of cartoon is a make-belief world that has created specifically a set of cartoon culture for itself. This culture has been mutually accepted by the cartoonists as the senders and the readers as the receivers.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1997.361-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการ์ตูน -- ไทยen_US
dc.subjectสัญศาสตร์en_US
dc.subjectสัญศาสตร์กับวรรณกรรมen_US
dc.subjectสัญศาสตร์กับศิลปะen_US
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาen_US
dc.subjectCaricatures and cartoons -- Thailanden_US
dc.subjectSemioticsen_US
dc.subjectSemiotics and literatureen_US
dc.subjectSemiotics and the artsen_US
dc.subjectContent analysis (Communication)en_US
dc.titleการใช้รหัสที่ปรากฏในงานนักเขียนการ์ตูนไทยen_US
dc.title.alternativeThe use of codes in the works of Thai cartoonisten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSirichai.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1997.361-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Prasopchok_na_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ856.18 kBAdobe PDFView/Open
Prasopchok_na_ch1_p.pdfบทที่ 1967.09 kBAdobe PDFView/Open
Prasopchok_na_ch2_p.pdfบทที่ 22.34 MBAdobe PDFView/Open
Prasopchok_na_ch3_p.pdfบทที่ 3889.46 kBAdobe PDFView/Open
Prasopchok_na_ch4_p.pdfบทที่ 48.48 MBAdobe PDFView/Open
Prasopchok_na_ch5_p.pdfบทที่ 51.04 MBAdobe PDFView/Open
Prasopchok_na_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก753.5 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.