Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74515
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorคมสัน ศุขสุเมฆ-
dc.contributor.authorอุษณีย์ อุเทน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-07-16T02:57:12Z-
dc.date.available2021-07-16T02:57:12Z-
dc.date.issued2532-
dc.identifier.isbn9745767956-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74515-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของการนำเอาการจัดรูปที่ดินมาใช้พัฒนาพื้นที่เมืองในประเทศไทย พร้อมทั้งหาข้อเสนอแนะสำหรับการศึกษาและการจัดรูปที่ดินต่อไปในอนาคต ผลการศึกษาพบว่า มีความเป็นไปได้ในการที่จะนำเอาการจัดรูปที่ดินมาใช้พัฒนาพื้นที่เมือง แต่จะต้องมีการปรับปรุงแก้ไขปัจจัยต่าง ๆ ที่จำเป็นต่อความสำเร็จของการจัดรูปที่ดินให้พร้อมมูลเสียก่อน ปัจจัยดังข้างต้นนี้แยกได้เป็น ปัจจัยทางด้านเทคนิค และปัจจัยทางด้านการปฏิบัติ ปัจจัยทางด้านเทคนิค ได้แก่ (1) ค่าของตัวเลขที่จะใช้คำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์สำคัญ 3 ค่า จะต้องเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพพื้นที่ของเมืองในประเทศไทย (2) แผนที่การใช้ที่ดินและแผนที่ระวางที่ดินที่มีความถูกต้องชัดเจน (3) ความแม่นยำในการวัดระยะทางจากแผนที่ดังกล่าวข้างต้นหรือจากการวัดระยะทางจริง ปัจจัยทางด้านการนำไปปฏิบัติ ได้แก่ (1) โครงสร้างทางกฎหมาย (2) การการให้ความร่วมมือและความช่วยเหลือจากหน่วยงานของรัฐบาลอย่างจริงจังทั้งในด้านงบประมาณและการให้คำแนะนำต่าง ๆ แก่องค์กรที่สนใจเรื่องการจัดรูปที่ดินทั้งภาครัฐบาลและเอกชน (3) ความร่วมมือและการยอมรับจากประชาชน (4) งบประมาณการเงินข้อเสนอแนะสำหรับการศึกษาและการจัดรูปที่ดินต่อไปในอนาคต ได้แก่ การนำเอาการจัดรูปที่ดินไปใช้กับพื้นที่อื่น ๆ ให้มากขึ้นเช่นพื้นที่ชานเมืองพื้นที่สำหรับที่พักอาศัยให้แก่ผู้มีรายได้น้อย ฯลฯ เพื่อให้ได้แง่มุมที่น่าสนใจและจะเป็นประโยชน์สำหรับพัฒนาการของการจัดรูปที่ดินต่อไปนอกจากนั้น ได้แก่ การเตรียมการณ์ทางด้านทรัพยากรบุคคลให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการจัดรูปที่ดินให้มากขึ้นเช่นเจ้าหน้าที่ในองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเมือง, ประชาชนทั่วไป, เจ้าของที่ดิน ฯลฯ เป็นต้น-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the study was to study the possibility of an introducing land-readjustment concept to develop the urban area in Thailand. And also to give some suggestions for the others studying and land-readjustment project that will be take-place in the future. The results of the study found that land-readjustment to develop the urban area was practicable by the condition of an improving on the two factors which was very essential for the accomplishment of land-readjustment. Those two factors were the technical-factors and the practical-factors. The technical-factors were (1) The value of the figure which was use to calculate the three main coefficients must be suitable for Thailand's urban area feature. (2) A very good and the most clarifying of the land use map and the cadastral map. (3) The right and the correct of a distantsurveying. The practical-factors were (1) The structure of law. (2) The collaboration between Government and private sectors concerning the land-readjustment matter. (3) The cooperation and acceptance from publicity. (4) The budget. The suggestions for the further studying and land-readjustment project is the taking of land-readjustment concept to develop in many types of area, such as, in the fringe area or in the residential area for the low income groups, ect. Besides of this is a well-preparation for a personnel resources including, The Town-Planning and Developing Agencies's staff, Publicity and The land-lords, ect.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการจัดรูปที่ดิน -- ไทยen_US
dc.subjectการใช้ที่ดินในเมือง -- ไทย -- กรุงเทพฯen_US
dc.subjectการพัฒนาเมืองen_US
dc.subjectการเวนคืนที่ดินen_US
dc.subjectLand use, Urban -- Thailand -- Bangkoken_US
dc.subjectUrban developmenten_US
dc.subjectEminent domainen_US
dc.titleการศึกษาเพื่อเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้การจัดรูปที่ดิน เพื่อพัฒนาพื้นที่เมือง : กรณีศึกษาการตัดถนนสี่พระยา-ถนนสุรวงศ์en_US
dc.title.alternativeStudy of an application of land-readjustment to develop the urban area : a case study of the road construction between Seepraya and Surawong roaden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการวางแผนภาคและเมืองen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Usanee_ut_front_p.pdf1.16 MBAdobe PDFView/Open
Usanee_ut_ch1_p.pdf2.31 MBAdobe PDFView/Open
Usanee_ut_ch2_p.pdf2.13 MBAdobe PDFView/Open
Usanee_ut_ch3_p.pdf4.97 MBAdobe PDFView/Open
Usanee_ut_ch4_p.pdf7.62 MBAdobe PDFView/Open
Usanee_ut_ch5_p.pdf1.71 MBAdobe PDFView/Open
Usanee_ut_ch6_p.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open
Usanee_ut_back_p.pdf5.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.