Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74673
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปราณี กุลละวณิชย์-
dc.contributor.authorสุรพล ชัยทองวงศ์วัฒนา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-07-23T06:23:50Z-
dc.date.available2021-07-23T06:23:50Z-
dc.date.issued2532-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74673-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาคำกริยาบ่งบอกลักษณะในภาษาไทยตามแนวความคิดของไมเคิล เอ เค อัลลิเดย์ เพื่อดูว่าคำกริยาบ่งบอกลักษณะในภาษาไทยมีลักษณะทางวากยสัมพันธ์ และทางอรรถศาสตร์อย่างไร และเพื่อจำแนกประเภทของคำกริยาบ่งบอกลักษณะออกเป็นประเภทและชนิดย่อยตามคุณสมบัติทางวากสัมพันธ์และทางอรรถศาสตร์ ผลการวิเคราะห์สรุปได้ว่า คำกริยาบ่งบอกลักษณะในภาษาไทยมี 13 รายคำ ได้แก่ คำว่า เหมือนคล้ายเท่าเสมอ คือ ชื่อ หมายถึง มี เป็น 1 เป็น 2 เป็น 3 ได้แก่ 1 ได้แก่ 2 ในจำนวนนี้มีคำพ้องรูปพ้องเสียง 5 รายคำ ได้แก่ คำว่า เป็น 1 เป็น 2 เป็น 3 ได้แก่ 1 และ ได้แก่ 2 คำกริยาบ่งบอกลักษณะทั้ง 13 รายคำ มีคุณสมบัติทางวากยสัมพันธ์ที่เหมือนกัน คือคำกริยาเหล่านี้จะไม่ปรากฏร่วมกับคำว่า ถูกโดน หรือ ได้รับ ในโครงสร้างประโยคกรรมวาจก ส่วนคุณสมบัติทางอรรถศาสตร์นั้น คำกริยาเหล่านี้ เป็นคำกริยาที่บ่งชี้ว่าสิ่งที่กล่าวถึงโดยหน่วยนามหน้าคำกริยามีลักษณะอย่างไร โดยหน่วยนามหลังคำและกริยาจะเป็นส่วนที่ใช้บรรยายลักษณะนั้น ๆ คำกริยาบ่งบอกลักษณะแบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ตามคุณสมบัติทางวากยสัมพันธ์และทางอรรถศาสตร์ คือ ประเภทเปรียบความ มีสมาชิก 5 รายคำ ประเภทขยายความมี 3 รายคำ และประเภทเทียบความมี 5 รายคำ คำกริยาประเภทเทียบความยังแบ่งออกเป็น 2 ชนิดย่อย ตามคุณสมบัติทางวากยสัมพันธ์คือ ชนิดเทียบความเท่าและชนิดเทียบความไม่เท่า-
dc.description.abstractalternativeThe aims of this thesis are to investigate the linguistic characteristics of the intensive verbs in Thai; and to classify them according to the syntactic and semantic properties. It can be concluded that there are 13 intensive verbs in Thai. Five of them are homographs and homonyms. The intensive verbs in Thai are mǐan khlán that:u samǎ: khi: chǐ: mǎnthǐn mi: pen1 pen2 pen3 á dâika1 and dâika2 .They do all have the same syntactic property, that is, they do not co-occur with mâi or do:n or dâiráp in the passive construction. Semantically, the study reveals that these verbs function as verbs linking the pre-verb nominal groups and the post-verb nominal groups. The latter indicate the characteristics of the former. The intensive verbs are classified into 3 types based on the syntactic and semantic properties. Five intensive verbs are defined as comparative intensive verbs, three as attributive intensive verbs, and five as identifying intensive verbs. The identifying intensive verb type can be further divided into 2 sub-types: the equative identifying intensive verbs and the non-equative identifying intensive verbs.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectภาษาไทย -- คำกริยาen_US
dc.subjectภาษาไทยกรุงเทพฯen_US
dc.subjectภาษาไทยถิ่นกลางen_US
dc.subjectThai language -- Verben_US
dc.titleคำกริยาบ่งบอกลักษณะในภาษาไทยกรุงเทพฯen_US
dc.title.alternativeIntensive verbs in Bangkok Thaien_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineภาษาศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPranee.K@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suraphon_ch_front_p.pdf905.84 kBAdobe PDFView/Open
Suraphon_ch_ch1_p.pdf736.48 kBAdobe PDFView/Open
Suraphon_ch_ch2_p.pdf1.62 MBAdobe PDFView/Open
Suraphon_ch_ch3_p.pdf1.24 MBAdobe PDFView/Open
Suraphon_ch_ch4_p.pdf1.28 MBAdobe PDFView/Open
Suraphon_ch_ch5_p.pdf981.73 kBAdobe PDFView/Open
Suraphon_ch_back_p.pdf727.35 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.