Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7473
Title: ความสัมพันธ์ระหว่าง การเปิดรับสื่อมวลชน ความเชื่อทางศาสนา และความทันสมัยของนิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานคร
Other Titles: The relationship of mass media exposure religious belief and the people's modernization of undergraduate students in Bangkok Metropolis
Authors: มณฑาวดี พูลเกิด
Advisors: จาระไน แกลโกศล
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Jaranai.G@chula.ac.th
Subjects: สื่อมวลชนในศาสนา
การเปิดรับสื่อมวลชน
ความเชื่อ
ความทันสมัย
Issue Date: 2539
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างคือนิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่าง ความเชื่อทางพุทธศาสนา การเปิดรับสื่อมวลชน และความทันสมัย ผลการวิจัยพบว่า 1. ในเรื่องของความเชื่อทางศาสนา และตัวแปรอื่นๆ พบว่า มีความสัมพันธ์ทางบวกระหว่างความเชื่อทางศาสนากับสภาพแวดล้อมในครอบครัว และความเชื่อทางศาสนากับความใกล้ไกลศาสนา แต่พบว่าระหว่างความเชื่อและความรู้ความเข้าใจในหลักธรรมทางพุทธศาสนาไม่มีความสัมพันธ์กัน 2. ในเรื่องของการเปิดรับสื่อมวลชน พบว่า มีความสัมพันธ์ทางบวกระหว่างการเปิดรับสื่อมวลชนกับความทันสมัยในระดับบุคคล และการเปิดรับรายการธรรมะทางสื่อมวลชนกับความเชื่อทางพุทธศาสนา แต่พบว่า ไม่มีความสัมพันธ์ระหว่าง ความเชื่อทางศาสนากับการเปิดรับสื่อมวลชน 3. ในเรื่องความทันสมัยในระดับบุคคล ไม่มีความสัมพันธ์กันทั้งระหว่างความทันสมัย กับความเชื่อทางศาสนาของนิสิตนักศึกษา และความทันสมัยกับความรู้ความเข้าใจในหลักธรรมทางพุทธศาสนา
Other Abstract: The research is the a survey on undergraduate student studying in the universities in Bangkok aiming to examine the relationship between belief in Buddhism doctrines which in term of research variable counted as religious belief, media exposure and modernization. The result of the research could be summed up as follows 1. Upon the relationship between religious belief, family religious environment, religious proximity and knowledge-attitude in Buddhism; there are correlations between religious belief and family religious environment and with religious proximity; but there is no correlation between belief and knowledge-attitude in Buddhism. 2. Upon the relationship between mass media exposure and other variables, it is found that it does positively correlate with religious belief and with personal modernization but does not correlat with knowledge-attitude on Buddhism. 3. In term of personal modernization, there are neither corelation between modernization and student belief nor with knowledge-attitude in Buddhism.
Description: วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539
Degree Name: นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: นิเทศศาสตรพัฒนาการ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7473
ISBN: 9746364375
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Monthawadee_Po_front.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open
Monthawadee_Po_ch1.pdf976.37 kBAdobe PDFView/Open
Monthawadee_Po_ch2.pdf2.24 MBAdobe PDFView/Open
Monthawadee_Po_ch3.pdf1.09 MBAdobe PDFView/Open
Monthawadee_Po_ch4.pdf1.81 MBAdobe PDFView/Open
Monthawadee_Po_ch5.pdf1.46 MBAdobe PDFView/Open
Monthawadee_Po_back.pdf1.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.