Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74775
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุเมธ วัชระชัยสุรพล-
dc.contributor.authorสามารถ เรียนสร้อย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-08-06T03:38:00Z-
dc.date.available2021-08-06T03:38:00Z-
dc.date.issued2532-
dc.identifier.isbn9745764175-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74775-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532en_US
dc.description.abstractยาและเวชภัณฑ์เป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งที่จะช่วยให้การรักษาพยาบาลผู้ป่วยในโรงพยาบาลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะเป็นโรงพยาบาลขนาดเล็กหรือใหญ่จะมีหน่วยคลังยาและเวชภัณฑ์เป็นผู้ดำเนินการในการจัดหา ดูแลการเบิกจ่าย และตรวจสอบปริมาณให้มีเพียงพอแก่ความต้องการใช้สอยในโรงพยาบาล การนำระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการจัดเก็บข้อมูลของหน่วยคลังยาและเวชภัณฑ์ทำให้การค้นหาและตรวจสอบข้อมูลเป็นไปอย่างรวดเร็วและถูกต้อง ทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานอีกด้วย วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เน้นในการพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับคลังยาและเวชภัณฑ์ของโรงพยาบาลขนาดเล็กที่มีจำนวนเตียงไม่เกิน 100 เตียงโดยได้พัฒนาระบบให้ดำเนินงานบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ซึ่งจะช่วยจัดเก็บข้อมูลประจำวันต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในการดำเนินงานในแต่ละวัน และการเบิกจ่ายรายการต่าง ๆ โดยการใช้จานแม่เหล็กแบบอ่อนเป็นสื่อบันทึกข้อมูล เพื่อให้มีการถ่ายเทข้อมูลกันระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ได้โดยสะดวก ในการออกแบบและพัฒนาระบบคลังยาและเวชภัณฑ์นได้แบ่งวิธีการดำเนินงานออกเป็น 4 ขั้นตอนด้วยกันคือ ขั้นตอนการศึกษาระบบการดำเนินงานในปัจจุบัน ทำให้ทราบถึงวิธีการดำเนินงาน และปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ขั้นตอนต่อไปคือ ขั้นตอนการศึกษาระบบสารสนเทศในปัจจุบัน เพื่อให้ทราบถึงลักษณะของข้อมูลที่ใช้ในการดำเนินงาน หรือสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นในระหว่างขั้นตอนต่าง ๆ ของการดำเนินงานและยังทำให้ทราบถึงความต้องการของผู้ใช้ระบบอีกด้วย ต่อจากนั้นจึงเป็นขั้นตอนของการออกแบบและพัฒนาระบบงาน สุดท้ายจึงทำการทดสอบระบบที่ได้พัฒนาขึ้น ให้สามารถนำไปใช้งานอย่างมีประสิทธิผล และมีความเชื่อถือได้-
dc.description.abstractalternativeMedical supply is a factor to fulfill the hospital's purpose of patient treatment. In any size of hospitals, the medical store manages medical supply in procurement, distribution and quantity checking to serve hospital consumption sufficiently. The application of computer system in recording data would enable medical store to search, and to validate daily transaction more quickly and correctly, and to increase the efficiency of medical store operation. The objective of this thesis signifies the design and development of the medical supply inventory information system for a small hospital which has a capacity not more than 100 beds. The system is developed on microcomputer which assists in recording daily transactions of daily operation. In addition, its streamlines support the distribution of medical supply by transferring data to floppy disk which is used in transferring medical supply data between departments. In designing and developing the medical supply inventory information system for a small hospital, is performed in 4 phases. The first phase is to study the detail of the medical store operation, its work step and all problems possibly occured during the operation. The second phase is concerned with current information, which covers the characteristics of present data during the operation and the knowledge of user's requirements. The next phase is to design and to develop the system. The final phase is to test the developed system in terms of performance and reliability.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเภสัชกรรมของโรงพยาบาลen_US
dc.subjectระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ -- โรงพยาบาลen_US
dc.subjectโรงพยาบาล -- บริการสารสนเทศen_US
dc.subjectการออกแบบระบบen_US
dc.subjectHospital pharmaciesen_US
dc.subjectInformation storage and retrieval systems -- Hospitalsen_US
dc.subjectHospitals -- Information servicesen_US
dc.subjectSystem designen_US
dc.titleระบบสารสนเทศสำหรับคลังยาและเวชภัณฑ์ของโรงพยาบาลขนาดเล็กen_US
dc.title.alternativeMedical supply inventory information system for a samll hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Samart_ri_front_p.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open
Samart_ri_ch1_p.pdf745.47 kBAdobe PDFView/Open
Samart_ri_ch2_p.pdf855.28 kBAdobe PDFView/Open
Samart_ri_ch3_p.pdf1.29 MBAdobe PDFView/Open
Samart_ri_ch4_p.pdf1.7 MBAdobe PDFView/Open
Samart_ri_ch5_p.pdf762.23 kBAdobe PDFView/Open
Samart_ri_back_p.pdf5.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.