Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74793
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เพ็ญพักตร์ อุทิศ | - |
dc.contributor.author | ชวนขวัญ สินธิ์ภมร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | จังหวัดราชบุรี | - |
dc.date.accessioned | 2021-08-06T05:22:41Z | - |
dc.date.available | 2021-08-06T05:22:41Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74793 | - |
dc.description | สารนิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้เป็นการดำเนินโครงการศึกษาอิสระ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบ พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน ก่อนและหลังการใช้โปรแกรมสุขภาพจิต ศึกษาครอบครัว กลุ่มตัวอย่างคือ ครอบครัวผู้ป่วยจิตเภทอำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี ซึ่งได้รับ การคัดเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์คุณสมบัติที่กำหนด จำนวน 2 0 ครอบครัวเครื่องมือที่ใช้ใน การศึกษา คือ โปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาครอบครัว ซึ่งพัฒนามาจากจิราพร รักการ (2549) ตาม แนวคิดของ Anderson et al. (1980) ประกอบด้วย 5 กิจกรรมได้แก่ 1) การสร้างสัมพันธภาพและ แรงจูงใจ 2) การให้ความรู้เรื่องโรคจิตเภท 3) การพัฒนาทักษะการจัดการกับอาการที่เป็นปัญหา และการฟ้องกันการป่วยซำ 4) การส่งเสริมสุขภาพจิตและพัฒนาทักษะการเผชิญความเครียด 5) การพัฒนาทักษะปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและค้นหาแหล่งสนับสนุนทางสังคม เครื่องมือที่ใช้ในการ เก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสัมภาษณ์พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน เครื่องมือที่ใช้กำกับการศึกษาคือ แบบวัดความรู้ของผู้ป่วยและของผู้ดูแล เครื่องมือทุกชุดผ่านการ ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน เครื่องมือ 3 ชุดหลังมีค่าความเที่ยง อัลฟาของครอนบาคเท่ากับ .77 และคูเดอร์ริชาร์ดสันเท่ากับ .83 และ.76 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ความถี่ ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างของคะแนนโดยใช้สถิติ ทดสอบที (Dependent t-test ) ผลการศึกษาที่สำคัญ สรุปได้ดังนี้ คะแนนพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน หลังได้รับโปรแกรม สุขภาพจิตศึกษาครอบครัว สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาครอบครัว อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งพฤติกรรมการดูแลตนเองโดยรวม และรายด้านทั้ง 4 ด้านได้แก่ ด้านการใช้ ยาทางจิตและสารเสพติด ด้านการดูแลสุขภาพจิต ด้านการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและด้านการ ป้องกันการกลับซ้ำ (t = -9.42, -5.07, -9.34, -5.27, และ -5.67 ตามลำดับ) | - |
dc.description.abstractalternative | The objective of this independent project study was to compare self-care behaviors of schizophrenic patients in community before and after the utilization of family psychoeducation program. A purposive sample of 20 families of schizophrenic patients in community, Photharam Distric, Ratchaburi Province, who met the inclusion criteria were recruited. The instrument utilized in this study was a Family Psycho-education program which was developed by Jirapom Rakkam (2549) based on Anderson et al. (1980). The program consisted of 6 activities which were: 1) building relationships and motivation to care; 2) providing knowledge of disease; 3) symptoms management and relapse prevention skills training; 4) promoting mental health and coping skills training and 5) daily activities and seeking social support skills training. Self-care behavior questionnaire was used as a data collection instruments. The Knowledge test for caregiver and family member were used to monitor the instruments. All instruments were examined for content validity by 3 professional experts. The reliability of the three latter instruments were reported using Chronbach’s Alpha coefficient as of .89 and KR-20 as of .83 and .76 respectively. Frequency, mean, standard deviation and dependent t-test were used for data analysis. Major findings were as follows : The scores on self-care behaviors of schizophrenia patients after the utilization of family psychoeducation program were significantly higher than that before at p .05 for both total scores as well as 4 sub-domains namely antipsychotic drug and used of substance abuse, mental health care, daily activities, and preventing relapse (t =-9.42, -5.07, -9.34, -5.27, -5.67 respectively). | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ผู้ป่วยจิตเภท | en_US |
dc.subject | การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง | - |
dc.subject | ครอบครัว -- สุขภาพจิต | - |
dc.subject | Schizophrenics | - |
dc.subject | Self-care, Health | - |
dc.subject | Families -- Mental health | - |
dc.title | การศึกษาการใช้โปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาครอบครัว ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี | en_US |
dc.title.alternative | A study of using family psychoeducation program on self-care behaviors of schizophrenic patients in community, photharam district, Ratchaburi Province | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Nurse - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chounkwan_si_front_p.pdf | หน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ | 874.23 kB | Adobe PDF | View/Open |
Chounkwan_si_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 1.37 MB | Adobe PDF | View/Open |
Chounkwan_si_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 2.77 MB | Adobe PDF | View/Open |
Chounkwan_si_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 2.21 MB | Adobe PDF | View/Open |
Chounkwan_si_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 805.06 kB | Adobe PDF | View/Open |
Chounkwan_si_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 987 kB | Adobe PDF | View/Open |
Chounkwan_si_back_p.pdf | บรรณานุกรมและภาคผนวก | 1.78 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.