Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74995
Title: Preparation of titanium oxide nanotube by microwave irradiation method
Other Titles: การสังเคราะห์ท่อนาโนไททาเนียมออกไซด์ด้วยกระบวนการให้ความร้อนด้วยรังสีไมโครเวฟ
Authors: Chalermwut Wongtaewan
Advisors: Sujitra Wongkasemjit
Apanee Luengnaruemitchai
Thanyalak Chaisuwan
Other author: Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
Advisor's Email: dsujitra@chula.ac.th
Apanee.L@Chula.ac.th
Thanyalak.C@Chula.ac.th
Subjects: Nanotubes
Microwaves
Titanium dioxide
ท่อนาโน
ไมโครเวฟ
ไทเทเนียมไดออกไซด์
Issue Date: 2011
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Titanium oxide nanotubes (TNTs) were synthesized hydrothermally via microwave heating of commercial TiO₂ anatase in 10 M NaOH solution at 150°C for 90 min, followed by washing the obtained powder with distilled water. A part of samples was shaken in 0.1 M HCl solution to compare with the unshaken samples. Synthesized nanotubes were observed in random arrangement using Transmission electron microscope, showing multi-walled structure tubes with 5 and 9-12 nm for inner and outer diameters, respectively. The tube length was varied from 80 to around hundreds nm. XRD results exhibited the titanate phase of Na₂₋ᵪHᵪTi₃O₇. Acid shaking process to exchange Na⁺ to H⁺ ion increased the surface area and the pore volume of the TNTs.
Other Abstract: การสังเคราะห์ท่อนาโนไทเทเนียมออกไซด์ประสบผลสำเร็จด้วยการให้ความร้อนโดยการฉายรังสีไมโครเวฟแก่สารตั้งต้นไททาเนียมออกไซด์ชนิดอานาเทสในสารละลายด่างโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่มีความเข้มข้น 10 โมลที่อุณหภูมิ 150 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 90 นาทีตามด้วยการล้างผงผลิตภัณฑ์ที่ได้ด้วยน้ำกลั่นแบ่งผลผลิตภัณฑ์เป็นสองส่วนโดยส่วนหนึ่งนำมาเขย่าในสารละลายกรดไฮโดรคลอริกที่มีความเข้มข้น 0.1 โมลเพื่อเปรียบเทียบกับผงผลิตภัณฑ์ที่ไม่ผ่านการเขย่าในสารละลายกรดจากการวิเคราะห์ด้วยทรานซ์มิชั่นอิเลกตรอนไมโครสโคปพบว่าท่อนาโนไทเทเนียมออกไซด์ที่ได้มีลักษณะการจัดเรียงตัวแบบสุ่มและมีผนังซ้อนกันหลายชั้นโดยมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายในเท่ากับ 5 นาโนเมตรและขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอกอยู่ระหว่าง 9 ถึง 12 นาโนเมตร ความยาวของท่อวัดได้ตั้งแต่ 80 ไปจนถึงหลายร้อยนาโนเมตรจากการวิเคราะห์ด้วยรังสีเอ็กซ์เรย์พบว่าโครงสร้างของท่อนาโนไทเทเนียมออกไซด์ที่ได้เป็นชนิด Na₂₋ᵪHᵪTi₃O₇ การเขย่าตัวอย่างภายใต้สารละลายกรดทำให้โซเดียมไอออนในโครงสร้างถูกแลกเปลี่ยนโดยไฮโดรเจนไอออนส่งผลให้พื้นที่ผิวและปริมาตรของช่องว่างในโครงสร้างเพิ่มขึ้น
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2011
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Polymer Science
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74995
Type: Thesis
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chalermwut_wo_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ835.27 kBAdobe PDFView/Open
Chalermwut_wo_ch1_p.pdfบทที่ 1612.85 kBAdobe PDFView/Open
Chalermwut_wo_ch2_p.pdfบทที่ 21.11 MBAdobe PDFView/Open
Chalermwut_wo_ch3_p.pdfบทที่ 3719.33 kBAdobe PDFView/Open
Chalermwut_wo_ch4_p.pdfบทที่ 41.63 MBAdobe PDFView/Open
Chalermwut_wo_ch5_p.pdfบทที่ 5606.03 kBAdobe PDFView/Open
Chalermwut_wo_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก782.46 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.