Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75022
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ-
dc.contributor.authorอุทัย เลิศธนะแสงธรรม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-08-23T17:20:39Z-
dc.date.available2021-08-23T17:20:39Z-
dc.date.issued2535-
dc.identifier.isbn9745814385-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75022-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535en_US
dc.description.abstractโครงการวิทยานิพนธ์นี้เป็นการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการสร้างทางเดินต่อเนื่องเพื่อใช้ศึกษาวิถีทางเดินต่อเนื่องที่สร้างขึ้น และเพื่อความสะดวกในการสั่งงานของแขนกล ซึ่งสามารถเลือกแบบการสร้างวิถีทางเดินได้ 5 ลักษณะ อันได้แก่ การสร้างวิถีทางเดินแบบแบง-แบง การสร้างวิถีทางเดินแบบควอดดิก การสร้างวิถีทางเดินแบบเอ็กสไปน์ชนิดที่ 1 การสร้างวิถีทางเดินแบบเอ็กสไปน์ชนิดที่ 2 และการสร้างวิถีทางเดินแบบเอ็กสไปน์ชนิดที่ 3 และสามารถนำมาใช้ในการควบคุมแขนกลจุฬา 2 โดยผู้ใช้สามารถสร้างแนวทางเดินที่ต้องการผ่านทางโปรแกรมวาดแบบออโตแคดหรือผ่านทางโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นนี้ จากการศึกษาพบว่า ความเบี่ยงเบนระหว่างวิถีทางเดินที่สร้างขึ้นกับวิถีทางเดินที่กำหนด การสร้างวิถีทางเดินแบบควอดิกจะให้ค่าความเบี่ยงเบนมากที่สุด รองมาคือการสร้างวิถีทางเดินแบบแบง-แบงการสร้างวิถีทางเดินแบบเอ็กสไปน์ชนิดที่ 2 การสร้างทางเดินแบบเอ็กสไปน์ชนิดที่ 3 และการสร้างวิถีทางเดินแบบเอ็กสไปน์ชนิดที่ 1 จะให้ค่าความเบี่ยงเบนน้อยที่สุด แต่ถ้าพิจารณาถึงความราบเรียบของวิถีทางเดินการสร้างวิถีทางเดินแบบควอดิกจะให้ความราบเรียบมากที่สุด รองมาคือการสร้างวิถีทางเดินแบบเอ็กสไปน์ชนิดที่ 2 การสร้างทางเดินแบบเอ็กสไปน์ชนิดที่ 3 การสร้างวิถีทางเดินแบบเอ็กสไปน์ชนิดที่ 1 และการสร้างวิถีทางเดินแบบแบง-แบงจะให้ค่าความเบี่ยงเบนน้อยที่สุด-
dc.description.abstractalternativeThe thesis of studying and writing a computer software to compute continuous paths for controlling of the Chula2 manipulator arm. Five methods include Bang-bang, Quartic, X1-spline, X2-spline and X3-spline are under consideration. Path information can be input either via program itself or convert from AutoCAD files. From the results shown that the paths generated by using Quartic method have the Maximum deviation. The minimum deviation is from X1-spline method. The quartic method gives the smoothness path while the Bang-bang method is the opposite.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแขนกลen_US
dc.subjectการเขียนโปรแกรม (คอมพิวเตอร์)en_US
dc.subjectManipulators (Mechanism)en_US
dc.subjectComputer programmingen_US
dc.titleการสร้างทางเดินต่อเนื่องในขณะทำงานสำหรับแขนกลจุฬา2en_US
dc.title.alternativeRun time trajectory generation for the Chula2 Manipulator Armen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเครื่องกลen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorViboon.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Uthai_le_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ1.28 MBAdobe PDFView/Open
Uthai_le_ch1_p.pdfบทที่ 1753.17 kBAdobe PDFView/Open
Uthai_le_ch2_p.pdfบทที่ 2721.54 kBAdobe PDFView/Open
Uthai_le_ch3_p.pdfบทที่ 31.4 MBAdobe PDFView/Open
Uthai_le_ch4_p.pdfบทที่ 4955.97 kBAdobe PDFView/Open
Uthai_le_ch5_p.pdfบทที่ 5965.49 kBAdobe PDFView/Open
Uthai_le_ch6_p.pdfบทที่ 61.18 MBAdobe PDFView/Open
Uthai_le_ch7_p.pdfบทที่ 7826.37 kBAdobe PDFView/Open
Uthai_le_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก7.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.