Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75044
Title: Motor oil removal by multistage froth flotation
Other Titles: การแยกน้ำมันเครื่องออกจากน้ำเสียด้วยวิธี Froth Flotation
Authors: Krit Thaiteerasathean
Advisors: Sumaeth Chavadej
Other author: Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
Advisor's Email: Sumaeth.C@Chula.ac.th
Subjects: Flotation
Sewage -- Purification -- Oil removal
Lubricating oils
โฟลเทชัน
น้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดน้ำมัน
น้ำมันหล่อลื่น
Issue Date: 2011
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The objective of this study was to investigate the operation parameters in the multistage froth flotation column to the efficiency of motor oil removal from water by multistage froth flotation. Branched alcohol propoxylate sulfate sodium salt with 14-15 carbon number and 4 PO groups (Alfoterra 145-4PO) is also used to form microemulsion with motor oil and as a froth for running the multistage froth flotation column. An increase in surfactant concentration was found to increase the oil removal, whereas the oil removal decreased with increasing air flow rate. An increase in NaCl concentration was found to increase oil removal when NaCl concentration exceed 2%wt removal dramatically decrease. For the effect of feed flow rate, oil removal remained constant.
Other Abstract: จุดประสงค์ของงานวิจัยนี้คือการศึกษาถึงผลกระทบจากตัวแปรต่างได้แก่ความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิว, ความเข้มข้นของเกลือ, อัตราการไหลของอากาศและอัตราการไหลของสารละลายขาเข้าต่อคุณภาพการแยกน้ำมันเครื่องออกจากน้ำเสียโดยการใช้ฟองสารลดแรงตึงผิวที่ชื่อว่า “Alfoterra 145-4PO” ถูกใช้เพื่อทำให้เกิดไมโครอิมัลชั่นกับน้ำมันเครื่องและยังเป็นสารที่ช่วยให้เกิดฟองในคอลัมน์อีกด้วยจากผลการทดลองพบว่าปริมาณความเข้มข้นที่เพิ่มขึ้นของสารลดแรงตึงผิวทำให้ประสิทธิภาพของการแยกน้ำมันเครื่องออกจากน้ำเพิ่มขึ้นแต่ประสิทธิภาพกลับลดลงโดยที่เพิ่มอัตราการไหลของอากาศส่วนผลกระทบจากความเข้มข้นของเกลือนั้นพบว่าความเข้มข้นของเกลือในช่วง 0-2 wt% จะทำให้ประสิทธิภาพของการแยกน้ำมันเครื่องออกจากน้ำมันเพิ่มขึ้นแต่กลับลดลงอย่างรวดเร็วเมื่อความเข้มข้นของเกลือเพิ่มขึ้นสูงกว่า 2wt% ส่วนการเปลี่ยนแปลงของอัตราการไหลของสารละลายขาเข้านั้นพบว่าไม่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการแยกน้ำมันเครื่องออกจากน้ำมากนักโดยที่ประสิทธิภาพไม่เปลี่ยนแปลงเท่าไรหากเพิ่มอัตราการไหลของสารละลายขาเข้า
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2011
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Petrochemical Technology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75044
Type: Thesis
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Krit_th_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ802.49 kBAdobe PDFView/Open
Krit_th_ch1_p.pdfบทที่ 1621.04 kBAdobe PDFView/Open
Krit_th_ch2_p.pdfบทที่ 21.02 MBAdobe PDFView/Open
Krit_th_ch3_p.pdfบทที่ 3672.97 kBAdobe PDFView/Open
Krit_th_ch4_p.pdfบทที่ 41.08 MBAdobe PDFView/Open
Krit_th_ch5_p.pdfบทที่ 5603.42 kBAdobe PDFView/Open
Krit_th_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก928.2 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.