Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75066
Title: Deoxygenation of beef fat for the production of hydrogenated biodiesel over Pd and NiMo catalysts : effect of catalyst support
Other Titles: การกำจัดออกซิเจนออกจากไขมันวัวในเครื่องปฏิกรณ์แบบต่อเนื่องเพื่อผลิตไฮโดรจีเนตเตทไบโอดีเซล
Authors: Rutkorn Chinsutthi
Advisors: Siriporn Jongpatiwut
Thammanoon Sreethawong
Suchada Butnark
Somchai Osuwan
Other author: Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
Advisor's Email: No information provided
Thammanoon.S@Chula.ac.th
No information provided
No information provided
Subjects: Hydrogenation
Biodiesel fuels
เครื่องปฏิกรณ์
ไฮโดรจีเนชัน
เชื้อเพลิงไบโอดีเซล
Issue Date: 2011
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Hydrogenated biodiesel is one of the biofuels not containing oxygen in its molecules. The absence of oxygen leads to many advantages such as high cetane number, high heating value, and high miscibility with fossil fuels. In this research, the effect of catalyst supports on the production of hydrogenated biodiesel using beef fat as feedstock has been investigated. Pd-based catalysts (Pd/Al₂O₃, Pd/F-Al₂O₃, Pd/SiO₂, Pd/TiO₂, Pd/C, and Pd/KL) and NiMo-based catalysts (i.e. NiMo/Al₂O₃, NiMo/F-Al₂O₃, NiMo/SiO₂, NiMo/TiO₂, NiMo/C, and NiMo/CeO₂-ZrO₂) were prepared by incipient wetness impregnation. The fresh and spent catalysts were characterized by XRD, TPR, BET, and TPO. The prepared catalysts were tested in a continuous flow packed-bed reactor at 500 psig, 325°C, H₂/feed molar ratio of 30, and LHSV 1 h⁻¹. The products obtained from all catalysts were hydrocarbons in diesel specification range. The results showed that by varying catalyst supports the corresponding catalyst had different properties in term of surface area and metal particle size. The triglyceride conversion increased with decreasing Pd crystallite size. However, hydrocarbon selectivity was not significantly changed with catalyst supports. The main products from Pd catalysts were heptadecane and pentadecane, resulting from hydrodecarbonylation. Among Pd catalysts, Pd/TiO₂ exhibited the highest hydrocarbon yield. For NiMo catalysts, octadecane and hexadecane were the main hydrocarbon products, resulting from hydrodeoxygenation.
Other Abstract: ไฮโครจีเนตเตทไบโอดีเซลเป็นน้ำมันชีวมวลที่ไม่มีออกซิเจนอยู่ในโครงสร้างโมเลกุลทำให้มีคุณสมบัติที่ดีกว่าไบโอดีเซลทั่วไปเช่น ค่าซีเทนสูง ค่าพลังงานความร้อนสูงและมีความสามารถในการผสมรวมกับน้ำมันดีเซลที่ได้จากปิโตรเลียมดี งานวิจัยนี้ศึกษาตัวรองรับในตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีผลต่อการผลิตไฮโดรจีเนตเตทไบโอดีเซลจากไขมันวัวผ่านกระบวนการดีออกซิจีเนชัน ตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีโลหะพัลลาเดียมบนตัวรองรับหลายชนิด (Pd/Al₂O₃, Pd/F-Al₂O₃, Pd/SiO₂, Pd/TiO₂, Pd/C, และ Pd/KL) และตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีโลหะนิเกิลกับโมลิบดินัมบนตัวรองรับหลายชนิด (NiMo/Al₂O₃, NiMo/F-Al₂O₃, NiMo/SiO₂, NiMo/TiO₂, NiMo/C, และ NiMo/CeO₂-ZrO₂) เตรียมโดยวิธีการผังแบบชื้นตัวเร่งปฏิกิริยาก่อนและหลังทำปฏิกิริยาจะถูกวิเคราะห์โดยใช้เทคนิค XRD, TPR, BET, และ TPO และถูกทดสอบความว่องไวในการทำปฏิกิริยาโดยใช้เครื่องปฏิกรณ์แบบไหลต่อเนื่องชนิดเบดนิ่งที่สภาวะความดัน 500 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว อุณหภูมิ 325 องศาเซลเซียสอัตราส่วนโดยโมลระหว่างไฮโดรเจนกับสารที่ป้อนเท่ากับ 30 และอัตราการไหลของสารป้อนต่อปริมาตรตัวเร่งปฏิกิริยาเท่ากับ 1 ต่อชั่วโมง ผลิตภัณฑ์ของเหลวที่ได้จากตัวเร่งปฏิกิริยาทุกตัวเป็นไฮโดรคาร์บอนอยู่ในช่วงน้ำมันดีเซลจากผลการทดลองพบว่าตัวรองรับมีผลทำให้ตัวเร่งปฏิกิริยามีคุณสมบัติแตกต่างกันในด้านพื้นที่ผิวและขนาดของผลึกของตัวเร่งปฏิกิริยา การเปลี่ยนไตรกลีเซอไรด์ไปเป็นผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้นเมื่อขนาดผลึกของโลหะพัลลาเดียมลดลงอย่างไรก็ตามการเลือกเกิดไฮโดรคาร์บอนไม่ขึ้นกับตัวรองรับ ตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีโลหะพัลลาเดียมมีเฮปตะเดคเคนและเพนตะเคนเป็นผลิตภัณฑ์หลักเป็นผลมาจากการเกิดปฏิกิริยาไฮโดรดีคาร์บอนิลเลชันเมื่อเทียบในกลุ่มตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีโลหะพัลลาเดียมพบว่า Pd/TiO₂ ให้สัดส่วนผลิตภัณฑ์ที่เป็นไฮโดรคาร์บอนสูงสุดสำหรับตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีโลหะนิกเกิลกับโมลิบตินัมได้ออกตะเดคเคนและเฮกซะเดคเคนเป็นผลิตภัณฑ์หลักเนื่องจากเกิดปฏิกิริยาไฮโดรดีออกซีจีเนชัน
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2011
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Petrochemical Technology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75066
Type: Thesis
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rutkorn_ch_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ939.8 kBAdobe PDFView/Open
Rutkorn_ch_ch1_p.pdfบทที่ 1634.97 kBAdobe PDFView/Open
Rutkorn_ch_ch2_p.pdfบทที่ 21.43 MBAdobe PDFView/Open
Rutkorn_ch_ch3_p.pdfบทที่ 3916.94 kBAdobe PDFView/Open
Rutkorn_ch_ch4_p.pdfบทที่ 41.99 MBAdobe PDFView/Open
Rutkorn_ch_ch5_p.pdfบทที่ 5637.73 kBAdobe PDFView/Open
Rutkorn_ch_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก822.96 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.