Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75069
Title: Preparation and characterization of nanoparticles from microemulsion system for topical delivery of Coenzyme Q10
Other Titles: การเตรียมและศึกษาลักษณะเฉพาะของอนุภาคนาโนจากระบบไมโครอิมัลชันเพื่อการนำส่งโคเอนไซม์คิวเทนแบบเฉพาะที่
Authors: Patcharaporn Manopinives
Advisors: Warangkana Warisnoicharoen
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Pharmaceutical Sciences
Subjects: ไมโครอิมัลชัน
โคเอนไซม์
Issue Date: 2005
Abstract: Nanoparticles have been prepared by simple cooling of a warm microemulsion template. In this study, the microemulsion was achieved by varying the oil phase (emulsifying wax or Brij® 72) and surfactant phase (Brij® 78 or Tween® 80). It was found that the type of lipid matrix and concentration of surfactant had an effect on the size of the nanoparticles. The rapid cooling of a warm microemulsion in an ice-bath caused the precipitation of the lipid phase to form the smaller nanoparticles. The systems composed of emulsifying wax (cetostearyl alcohol and cetomacrogol) and Tween® 80 offered the small, uniform and stable nanoparticles. Coenzyme Qio was then incorporated into the nanoparticles and it was shown that the concentration of wax and Tween® 80 had influence on the size of Coenzyme Qio- loaded nanoparticles. The formulation which was selected to incorporate Coenzyme Qio was composed of 4 mg/mL wax and 48 mM Tween® 80. The Coenzyme Qio-loaded nanoparticles were spherical and had the size smaller than 100 nm and high percentage entrapment efficiency; 80.19% and 78.00 % for 2 and 4 mg/mL Coenzyme Qio, respectively. The differential scanning calorimetry analysis indicated that Coenzyme Qio was dispersed in lipid matrix as an amorphous state and the Coenzyme Qio-loaded nanoparticles were not a simple physical mixture of their individual component. The in vitro release profile of Coenzyme Qio from nanoparticles exhibited a rapidly initial release in the first ten hours, followed by a period of slower and extened release. Freeze-dried Coenzyme Qio-loaded nanoparticles using 2% w/w mannitol as a cryoprotectant showed a greater stability than non freeze-dried nanoparticles. Moreover the cream mixed with Coenzyme Qio-loaded nanoparticles offered a good physical stability under accelerated condition. In conclusion, Coenzyme Qio-loaded nanoparticles were prepared from microemulsion template and could be incorporated in to topical preparation.
Other Abstract: อนุภาคนาโนสามารถเตรียมโดยการทำแม่แบบไมโครอิมัลชันที่เกิดขึ้นขณะร้อนให้เย็น แบบปกติ ในงานศึกษานี้ทำการปรับเปลี่ยนวัฎภาคนำมัน (อิมัลซิฟายอิงแวกซ หรือ บริจ 72) และ วัฎภาคของสารลดแรงตึงผิว (บริจ 78 หรือ ทวีน 80) เพื่อให้ได้ไมโครอิมัลชัน จากการศึกษาพบว่า ชนิดของเมทริกซ์ไขมัน และความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิวมีผลต่อขนาดของอนุภาคนาโนที่ได้ รวมทั้งยังพบว่า การทำไมโครอิมัลชันที่เกิดขึ้นขณะร้อนให้เย็นทันทีในอ่างน้ำแข็ง จะมีผลให้เกิด การแยกชั้นของวัฎภาคไขมันและก่อให้เกิดอนุภาคนาโน ที่มีขนาดเล็กกว่าการทำให้เย็นแบบปกติ ตำรับไมโครอิมัลชันที่ประกอบด้วยแวกซ์ (ซีโตสเทียริวแอลกอฮอล์ กับ ซีโตแมคโครกอล) และ ทวีน 80 จะให้อนุภาคนาโนที่มีขนาดเล็ก สม่ำเสมอ และมีความคงตัว โคเอนไซม์คิวเทนจะถูกกัก เก็บลงในอนุภาคนาโนที่ได้ และพบว่า ความเข้มข้นของแวกช์และทวีน80จะมีผลต่อขนาดของ อนุภาคนาโนที่กักเก็บโคเอนไซม์คิวเทน สูตรตำรับที่ถูกเลือกเพื่อใช้กักเก็บโคเอนไซม์คิวเทน ประกอบด้วย แวกซ์ 4 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ทวีน 80 48 มิลลิโมลาร์ อนุภาคนาโนที่กักเก็บ โคเอนไซม์คิวเทนแสดงลักษณะอนุภาคที่กลมและมีขนาดเล็กกว่า 100 นาโนเมตร รวมทั้งมี เปอร์เซ็นต์การกักเก็บที่สูง คือ ร้อยละ 80.19 และ 78.00 สำหรับ อนุภาคนาโนที่กักเก็บโคเอนไซม์ คิวเทนไว้ 2 และ 4 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตรตามลำดับ จากการวิเคราะห์ดิฟเฟอเรนเชียลสแกนนิง แคลลอลิเมททรีแสดงให้เห็นว่า โคเอนไซม์คิวเทนที่อยู่ในเมทริกซีไขมันกระจายอยู่ในรูปอสัณฐาน และอนุภาคนาโนที่กักเก็บโคเอนไซม์คิวเทนนี้ ไม่ได้เกิดจากการผสมทางกายภาพของแต่ละ องค์ประกอบ โคเอนไซม์คิวเทนจะถูกปลดปล่อยจากอนุภาคนาโนอย่างรวดเร็วในสิบชั่วโมงแรก จากนั้นจะช้าลงและคงที่ อนุภาคนาโนที่กักเก็บโคเอนไซม์คิวเทนที่อยู่ในรูปผงแห้งโดยใช้แมนิทอลร้อยละ 2 เป็นตัวปกป้องอนุภาคขณะทำให้เย็นจะให้ความคงตัวดีกว่าอนุภาคที่ไม่อยู่ในรูปผง แห้ง นอกจากนียังพบว่า ครีมที่ผสมรวมกับอนุภาคนาโนที่กักเก็บโคเอนไซม์คิวเทนมีความคงตัว ทางกายภาพที่ดีภายใต้สภาวะเร่ง จากผลการทดลองสามารถสรุปได้ว่า อนุภาคนาโนที่กักเก็บโค เอนไซม์คิวเทน เตรียมได้จากแม่แบบไมโครอิมัลชันและสามารถบรรจุลงในสูตรตำรับเฉพาะที่ได้
Description: Thesis (M.Sc. in Pharm.)--Chulalongkorn University, 2005
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Pharmaceutical Technology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75069
ISBN: 9741424418
Type: Thesis
Appears in Collections:Pharm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Patcharaporn_ma_front_p.pdf1.13 MBAdobe PDFView/Open
Patcharaporn_ma_ch1_p.pdf741.97 kBAdobe PDFView/Open
Patcharaporn_ma_ch2_p.pdf1.71 MBAdobe PDFView/Open
Patcharaporn_ma_ch3_p.pdf1.22 MBAdobe PDFView/Open
Patcharaporn_ma_ch4_p.pdf2.05 MBAdobe PDFView/Open
Patcharaporn_ma_ch5_p.pdf648.05 kBAdobe PDFView/Open
Patcharaporn_ma_back_p.pdf2.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.