Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75084
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประกิตติ์สิน สีหนนทน์-
dc.contributor.advisorสุเทพ ธนียวัน-
dc.contributor.advisorอุดม จันทรารักษ์ศรี-
dc.contributor.authorสาโรจน์ ประเสริฐศิริวัฒน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-08-25T10:02:17Z-
dc.date.available2021-08-25T10:02:17Z-
dc.date.issued2531-
dc.identifier.isbn9745694762-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75084-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531en_US
dc.description.abstractการศึกษาเพื่อคัดเลือกอาหารเลี้ยงเชื้อที่เหมาะสม สำหรับใช้แยกเชื้อจากน้ำปลา พบว่า Tryptone yeast extract agar เป็นอาหารเลี้ยงเชื้อที่เหมาะสมที่สุดเนื่องจากมีแบคทีเรีย เจริญได้มากทั้งชนิดและจำนวน ระยะเวลาในการบ่มเชื้อที่เหมาะสมสำหรับแบคทีเรียนวกที่ทนเค็มได้ ต่ำ คือ 8 วัน และ 14 วันในกรณีแบคทีเรียชอบเค็มสูง การเปลี่ยนแปลงของแบคทีเรียที่พบใน กระบวนการหมัก พบว่าปริมาณของแบคทีเรียสูงสุดในวันแรกของการหมัก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นแบคทีเรีย รูปกลมแกรมบวกที่ทนเค็มได้ต่ำนอกนั้นเป็นพวกรูปแท่งแกรมบวกและแกรมลบ และจะลดจำนวนลง อย่างรวดเร็วในช่วง 2 สัปดาห์แรก จากนั้นจะมีแบคทีเรียชอบเค็มสูงโคโลนีสีแดงรูปร่างกลมแกรม บวกเริ่มเจริญเพิ่มจำนวนจนมีจำนวนสูงสุดในวันที่ 62 และหายไปหลังจาก 124 วันของการหมัก เชื้อกลุ่มนี้มีความสัมพันธ์กับปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด ไนโตรเจนในรูปกรดอะมิโน แอมโมเนียคัล ไนโตรเจน และกรดอะมิโนอิสระทั้งหมด การเปลี่ยนแปลงของปริมาณสารประกอบไนโตรเจนเหล่า นี้จะมีการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วตั้งแต่เริ่มหมัก หลังจาก 4 เดือนอัตราการเพิ่มขึ้นจะค่อนข้างคงที่ ค่า ความเป็นกรดด่าง (pH) มีการเปลี่ยนแปลงในช่วง 5.22 - 5.96 หลังจาก 86 วันไปแล้วมีแนว โน้มลดลงตลอด การคัดเลือกแบคทีเรียชอบเค็มที่สร้างโปรติเอสได้พบว่าเชื้อ Isolate 1 เป็น แบคทีเรียชอบเค็มสูงที่สร้างโปรติเอสและเจลลาติเนสได้ดีที่สุด มีคุณสมบัติทางสัณฐานวิทยา สรีรวิทยา และชีวเคมีบางประการใกล้เคียงกับแบคทีเรียในสกุล Ha lococcus เมื่อทดลองนำเชื้อ Isolate 1 ไปทดลองเพิ่มลงในการหมักเปรียบเทียบกับการหมักตามธรรมชาติในช่วงระยะเวลา 73 วัน สามารถ ทำให้ได้ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด และไนโตรเจนในรูปกรดอมิโนสูงกว่าการหมักตามธรรมชาติ แต่พบว่าปริมาณแอมโมเนียคัลไนโตรเจนน้อยกว่าที่ได้จากการหมักตามธรรมชาติ-
dc.description.abstractalternativeStudy for the selection of appropriate media suitable for the isolation of bacteria from fish sauce indicated that tryptone yeast extract agar is the most suitable medium by which the medium gave the highest number of bacteria as well as type of bacteria. The optimum incubation time for low salt tolerance bacteria and halophilic bacteria were 8 days and 14 days respectively. Results of the study for the change of bacterial population during the course of fermentation indicated that the maximum number of bacteria was found in the first day of fermentation in which most of the bacteria found were gram positive cocci with low salt tolerance nature, with the rest of gram positive and gram negative rod. The number of such bacteria was reduced rapidly during the first two weeks of fermentation. Afterward, a predominate halophilic bacteria with red color colony appearance took place then peaked at 62 days and disappeared after 124 days. The presence of this group bacteria were found correlated with amount of total nitrogen, amino acid nitrogen and ammoniacal nitrogen, total free amino acid as well as their change which were found constant after 4 months of fermentation, pH of the culture was found in the range between 5.22 - 5.96 and continuously declined after day 86. Isolation for halophilic protease producer showed that isolate 1 which gave highest protease and gelatinase activity possesses morphological as well as biochemical characteristics resemble those of Halococcus should be a good candidate for this purpose. Artificially inoculated with isolate 1 gave higher total nitrogen and amino acid nitrogen but less ammoniacal nitrogen content in comparison to natural fermentation-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำปลา -- การหมักen_US
dc.subjectจุลชีววิทยาอุตสาหการen_US
dc.subjectFish sauce -- Fermentationen_US
dc.subjectIndustrial microbiologyen_US
dc.titleการเปลี่ยนแปลงของประชากรแบคทีเรีย และชีวเคมี ในการหมักน้ำปลาen_US
dc.title.alternativeBacterial population and biochemical changes in fish sauce fermentationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจุลชีววิทยาทางอุตสาหกรรมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorsprakits@chula.ac.th-
dc.email.advisorSuthep.T@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Saroch_pr_front_p.pdf987.85 kBAdobe PDFView/Open
Saroch_pr_ch1_p.pdf685.1 kBAdobe PDFView/Open
Saroch_pr_ch2_p.pdf1.82 MBAdobe PDFView/Open
Saroch_pr_ch3_p.pdf1.21 MBAdobe PDFView/Open
Saroch_pr_ch4_p.pdf2.39 MBAdobe PDFView/Open
Saroch_pr_ch5_p.pdf886.56 kBAdobe PDFView/Open
Saroch_pr_back_p.pdf2.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.