Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75136
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorThammanoon Sreethawong-
dc.contributor.advisorSumaeth Chavadej-
dc.contributor.authorSiriluck Niyomkarn-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College-
dc.date.accessioned2021-08-26T04:10:50Z-
dc.date.available2021-08-26T04:10:50Z-
dc.date.issued2011-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75136-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2011en_US
dc.description.abstractAm azo compound is an important class of synthetic dyes and is characterized by the presence of one or more azo group (-N=N-) linked between aromatic rings. The release of this coloring agent causes wastewater problems. Photocatalysis is an efficient technique to remove dye pollutants because of several advantages. This work focused on the improvement of the photocatalytic activity of mesoporous-assembled In₂O₃-TiO₂ mixed oxide photocatalysts for Congo Red (CR) azo dye degradation by varying In₂O₃-to-TiO₂ molar ratio, calcination temperature, and silver (Ag) loading. All of the photocatalysts were synthesized by a sol-gel process with the aid of a structure-directing surfactant. The experimental results showed that the mesoporous-assembled In₂O₃-TiO₂ mixed oxide photocatalyst with an In₂O₃-to-TiO₂ molar ratio of 0.05:0.95 calcined at 500°C provided the highest CR degradation rate constant of 0.86 h⁻¹. In addition, the optimum Ag content of 1.5 wt% loaded on the mesoporous-assembled 0.05In₂O₃-0.95TiO₂ photocatalyst by a photochemical deposition method was found to increase the CR degradation rate constant to 1.37 h⁻¹.-
dc.description.abstractalternativeสีย้อมประเภทเอโซเป็นสารในกลุ่มสีสังเคราะห์ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มของเอโซ (-N=N-) ตั้งแต่หนึ่งกลุ่มหรือมากกว่าหนึ่งกลุ่มต่อกับวงสารอะโรเมติกส์ซึ่งการปล่อยสารพิษประเภทสีย้อมเหล่านี้สู่สภาวะแวดล้อม ก่อให้เกิดปัญหามลพิษในน้ำเสียอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การใช้ปฏิกิริยาแบบใช้แสงร่วมเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพวิธีหนึ่งในการกำจัดสารพิษประเภทสีย้อมนี้เนื่องจากมีข้อดีหลายประการ งานวิจัยนี้จึงมุ่งเน้นศึกษาการปรับปรุงและพัฒนาความสามารถในการย่อยสลายสีย้อมประเภทเอโซชนิดคองโกเรด โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาแบบใช้แสงร่วมประเภทโลหะออกไซด์ผสมระหว่างอินเดียมออกไซด์และไททาเนียที่มีขนาดรูพรุนในระดับเมโซพอร์ โดยการเปลี่ยนแปลงตัวแปรต่างๆ ได้แก่ อัตราส่วนโดยโมลของอินเดียมออกไซด์ต่อไททาเนีย, อุณหภูมิที่ใช้ในการเผา, และปริมาณโลหะเงินที่เติมลงบนตัวเร่งปฏิกิริยาแบบใช้แสงร่วมดังกล่าวในการทดลองนี้ตัวเร่งปฏิกิริยาแบบใช้แสงร่วมถูกสังเคราะห์ขึ้นโดยกระบวนการโซล-เจลร่วมกับการใช้สารลดแรงตึงผิวเป็นตัวกำหนดโครงสร้าง จากผลการทดลองพบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาแบบใช้แสงร่วมอินเดียมออกไซด์ไททาเนีย ที่ประกอบด้วยอัตราส่วนโดยโมลของอินเดียมออกไซด์ต่อไททาเนียเท่ากับ 0.05:0.95 ซึ่งถูกเผาที่อุณหภูมิ 500 องศาเซลเซียส ให้ค่าอัตราการย่อยสลายสีย้อมดีที่สุดเท่ากับ 0.86 ต่อชั่วโมง นอกจากนี้การเติมโลหะเงินในปริมาณที่เหมาะสมร้อยละ 1.5 โดยน้ำหนักลงบนตัวเร่งปฏิกิริยาดังกล่าวพบว่า อัตราการย่อยสลายของสีย้อมมีค่าเพิ่มขึ้นเป็น 1.37 ต่อชั่วโมง-
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectAzo dyes-
dc.subjectCongo red-
dc.subjectSewage -- Purification -- Color removal-
dc.subjectสีย้อมเอโซ-
dc.subjectสีคองโกเรด-
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดสี-
dc.titlePhotocatalytic degradation of Azo Dye contaminant in Wastewater using mesoporous-assembled In₂O₃-TiO₂-mixed oxide photocatalystsen_US
dc.title.alternativeการสลายตัวของสีย้อมประเภทเอโซที่ปนเปื้อนในน้ำเสียโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาแบบใช้แสงร่วมประเภทโลหะออกไซด์ผสมระหว่างอินเดียมออกไซด์และไททาเนียที่มีขนาดรูพรุนในระดับเมโซพอร์en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplinePetrochemical Technologyen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorThammanoon.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorSumaeth.C@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Siriluck_ni_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ920.59 kBAdobe PDFView/Open
Siriluck_ni_ch1_p.pdfบทที่ 1669.54 kBAdobe PDFView/Open
Siriluck_ni_ch2_p.pdfบทที่ 21.27 MBAdobe PDFView/Open
Siriluck_ni_ch3_p.pdfบทที่ 3914.3 kBAdobe PDFView/Open
Siriluck_ni_ch4_p.pdfบทที่ 42.66 MBAdobe PDFView/Open
Siriluck_ni_ch5_p.pdfบทที่ 5630.98 kBAdobe PDFView/Open
Siriluck_ni_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก803.51 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.