Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7519
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรชุลี อาชวอำรุง-
dc.contributor.advisorธิดารัตน์ บุญนุช-
dc.contributor.authorวรลักษณ์ ชุมสาย ณ อยุธยา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-07-10T10:28:04Z-
dc.date.available2008-07-10T10:28:04Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741433425-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7519-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractพัฒนารูปแบบหลักสูตรและการสอนเพื่อเสริมสร้างดุลยภาพของสมรรถนะทางปัญญา อารมณ์ และจริยธรรมของนิสิตนักศึกษา ผู้วิจัยได้พัฒนารูปแบบหลักสูตรและการสอน เพื่อเสริมสร้างดุลยภาพของสมรรถนะทางปัญญา อารมณ์ และจริยธรรมของนิสิตนักศึกษา และสร้างแบบสอบดุลยภาพของสมรรถนะทางปัญญา อารมณ์ และจริยธรรม โดยให้ผู้เชี่ยวชาญประเมินความเที่ยง และนำไปทดลองใช้ในการสอนจริงกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ลงทะเบียนเรียนวิชา การเรียนรู้ผ่านกิจกรรมนิสิต ซึ่งเป็นวิชาหนึ่งในหมวดการศึกษาทั่วไป เป็นนิสิตจากสาขาวิชา 4 สาขา ได้แก่ มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์กายภาพ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ จำนวน 60 คน การทดลองใช้กลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียวจากประชากร ในชั้นเรียนทั้งหมด 250 คน โดยสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง ระยะเวลาการทดลอง 16 สัปดาห์ ข้อมูลได้รับการวิเคราะห์เชิงปริมาณ โดยสถิติบรรยายและเชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์สาระ ผลการวิจัยหลักปรากฏ ดังนี้ 1. ผลการวิเคราะห์เอกสาร พบว่า รูปแบบหลักสูตรและการสอนฯ ควรเป็นแบบบูรณาการที่เน้นกิจกรรมให้ผู้เรียนเกิดสมาธิ และการตระหนักรู้ในตนเป็นสำคัญ 2. รูปแบบหลักสูตรและการสอนฯ เป็นการผสมผสานระหว่างแนวคิดของตะวันตกกับตะวันออก โดยให้น้ำหนักการบูรณาการ 3 ส่วน IQ: EQ: MQ = 25: 50: 25 สาระของหลักสูตรที่มี "ไตรสิกขา" เป็นแกนกลาง ซึ่งขยายไปสู่ (1) การฝึกกายฝึกใจ และฝึกจิตวิญญาณ ภายในบริบทของนโยบายของรัฐ ด้านการศึกษาทั่วไป (2) บทบาทมหาวิทยาลัยเพื่อผลิตบัณฑิตที่พึงประสงค์ และ (3) ภายในห้องเรียนให้มีการใชรูปแบบหลักสูตรและการสอน ทั้งนี้ผู้วิจัยได้นำเสนอแผนการสอน และคู่มือวัดประสิทธิภาพของรูปแบบด้วย 3. ผลการตรวจสอบและทดลองใช้แบบหลักสูตรและการสอนฯ พบว่า คะแนนหลังการเรียนใช้รูปแบบ สูงขึ้นทุกด้าน คะแนนก่อนและหลังการเรียนผกผันกัน คือ นิสิตสาขาศิลปะหลังเรียนมีสมรรถนะทางปัญญาสูงกว่าสาขาวิทย์ และนิสิตสาขาวิทย์หลังเรียนมีสมรรถนะทางอารมณ์และจริยธรรมสูงกว่านิสิตสาขาศิลป์ ทางด้านระดับชั้นปี พบว่า ชั้นปี 1 มีคะแนนสูงกว่าชั้นปี 2 ทุกด้าน และในด้านเพศ พบว่า เพศหญิงมีสมรรถนะทางปัญญาและจริยธรมสูงกว่า ในขณะที่เพศชายมีสมรรถนะทางอารมณ์สูงกว่า ผู้วิจัยได้เสนอแนะให้มีการนำรูปแบบหลักสูตรและการสอนนี้ไปใช้ตามนโยบายการศึกษาของชาติ รวมทั้งให้เน้นการสอนแบบสถานการณ์จริงโดยโครงงาน และส่งเสริมการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนตามรูปแบบให้เหมาะสมและเพียงพอ ท้ายที่สุดด้านการวิจัยควรศึกษาเรื่องนี้ต่อเนื่องเป็นระยะยาวโดยการศึกษาการพัฒนาตามช่วงเวลาen
dc.description.abstractalternativeTo develop a curriculum and instructional model to enhance the balance among intelligent, emotional and moral competencies of college students. The researcher had developed a curriculum and instructional model to serve the purpose. A test for such competencies which was validated by expert judgment was tried out in an actual instruction. Samples used were Chulalongkorn University students, registered in "Learning through Students' Activities", a course in the General Education Program. Sixty students from four fields of study, namely humanities, social sciences, physical sciences and biological sciences, were volunteered as purposive sample from the total population of 250 students in the class. The quasi-experimental try-out of the model lasted 16 weeks. Quantitative data were analyzed by descriptive analysis whereas content analysis was dealt with the qualitative data. Following were the results. 1. From analysis and synthesis of documentary findings, the curriculum and instruction model was to be integrative, activity-oriented for meditative gains and illicitation of self-awreness. 2. The model was mixed between the Western and Eastern approaches. Weights used in the three dimensional balance among IQ: EQ: MQ was 25: 50: 25. The substance of the model is "Trisikka" or the "Triple-education" as the core concept, extended to (1) body, mind and soul training within the context of the national policy in General Education; (2) the university role in producing desirable graduates; and (3) application of the model in classes. Instructor plans and evaluation guidelines were presented for use in effective execution of the model. 3. Quasi-experimental try-out indicated overall improvements of all students. Pretest and posttest scores of liberal arts and science students were reversal. Posttest scores in IQ of liberal arts students were higher whereas the science counterparts' score in EQ and MQ were higher. Classwise, freshmen scored higher than upperclassmen in all three dimensions. As for sex, female student scoredhigher in IQ and MQ while male students scored higher in EQ. Suggestions were made in application of the developed model to serve the national policy on general education. Furthermore, authentic project-based teaching was emphasized. Instructional media appropriate for the model was recommended to be improved and increased to par with the demands. Finally, regarding research, long-term time-series application of this study was recommended.en
dc.format.extent3836461 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.723-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectปัญญาen
dc.subjectความฉลาดทางอารมณ์en
dc.subjectการพัฒนาจริยธรรมen
dc.subjectการศึกษา -- หลักสูตรen
dc.subjectการพัฒนานักศึกษาen
dc.subjectการศึกษาทั่วไป -- การศึกษาและการสอนen
dc.titleการพัฒนารูปแบบหลักสูตรและการสอนเพื่อเสริมสร้างดุลยภาพของสมรรถนะทางปัญญา อารมณ์ และจริยธรรม ของนิสิตนักศึกษาen
dc.title.alternativeDevelopment of a curriculum and instruction model to enhance the balance among intellingent, emotional and moral competencies of college studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาเอกes
dc.degree.disciplineอุดมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPornchulee.A@Chul.ac.th-
dc.email.advisorThidarat.B@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.723-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
woralak.pdf3.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.