Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75210
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorThanyalak Chaisuwan-
dc.contributor.advisorSujitra Wongkasemjit-
dc.contributor.advisorStephan Thierry Dubas-
dc.contributor.authorVararat Swatdiponphallop-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College-
dc.date.accessioned2021-08-26T10:03:52Z-
dc.date.available2021-08-26T10:03:52Z-
dc.date.issued2013-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75210-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2013en_US
dc.description.abstractKoh Samed sand, which contains mostly calcium carbonate, was chosen to prepare a porous hybrid composite because it is cheap and non toxic. High molecular weight poly(vinyl alcohol) (PVA) was used as an organic phase, while boric acid was added as a crosslinking agent to improve mechanical properties. The resulting products were characterized by X-ray diffraction (XRD), Fourier transform infrared (FTIR) spectroscopy, Thermogravimetric analysis (TGA), and electron microscopy (SEM) and gas pycnometer. In order to use this hybrid porous material as a sensor to detect nickel ions (Ni2+) in waste water from batteries or nickel alloy manufacturers, 2% (w/w) Dimethylglyoxime (DMG) in ethanol was added as a detector. The formation of the Ni(DMG)2 complex from nickel (II) ions and DMG had a red-pink complex ion that was visible to the naked-eye. Spectrophotometric measurements were taken to test colorimetric response.-
dc.description.abstractalternativeทรายจากเกาะเสม็ด เป็นทรายที่มีลักษณะแตกต่างจากทรายอื่น ๆ ในประเทศไทย คือเป็นทรายที่มีองค์ประกอบหลักทางเคมีคือ สารประกอบแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO₃) ด้วยคุณสมบัติที่ไม่เป็นพิษ ราคาถูก และ นำมาใช้ใหม่ได้จึงเลือกสารจากเสม็ดมาใช้ในงานวิจัยการผลิตไฮบริดจ์คอมโพสิตที่มีรูพรุน โดยนำมาใช้เป็นสารประกอบอนินทรีย์ในรูปของเฟสที่กระจายตัวอยู่ (disperse phase) ในการสังเคราะห์ได้เลย โดยไม่ต้องผ่านกระบวนการใด ๆ และมีเนื้อหลัก (matrix) เป็นพอลิเมอร์นั่นคือโพลีไวนิลแอลกอฮอล์ (PVA) การสังเคราะห์สารไฮบริดจ์คอมโพสิตที่มีรูพรุน ผ่านกระบวนการขึ้นรูปโดยใช้หลักการทำให้แห้งเพื่อนำน้ำออกในบรรยากาศปกติ (ambient drying ) ทรายจากเสม็ดผลิตภัณฑ์ที่ได้ถูกนำไปพิสูจน์เอกลักษณ์ทางกายภาพ และเคมีด้วยเครื่องเอ็กซ์เรย์ดิฟแฟรกชัน (XRD), ฟอเรียร์ทรานสฟอร์มอินฟราเรด (FTIR) สเปกโตรสโคปี, และ เครื่องวิเคราะห์เทอร์โมกราวิเมตริก (TGA) จากผลการทดลองพบว่า แคลเซียมคาร์บอเนตบริสุทธิ์ 99.8 เปอร์เซนต์ ส่วนผลิตภัณฑ์ไฮบริดจ์คอมโพสิตที่มีรูพรุนสูง ได้ถูกนำไปพิสูจน์เอกลักษณ์ทางด้านกายภาพ เคมี และสัณฐานวิทยาด้วยเครื่องเอ็กซ์เรย์ดิฟแฟรกชัน (XRD), ฟอเรียร์ทรานสฟอร์มอินฟราเรด (FTIR) สเปกโตรสโคปี, เครื่องวิเคราะห์เทอร์โมกราวิตริก (TGA), และสแกนนิ่งอิเลคตรอนไมโครสโคปี (SEM) และเครื่องก๊าซพิคโนมิเตอร์ ในงานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาโครงสร้างและสมบัติทางกายภาพของวัสดุเพื่อนำไปใช้สำหรับทำเซนเซอร์ (sensor) ตรวจจับสารโลหะหนักชนิดนิกเกิล โดยเลือกสภาวะการทดลองที่สารประกอบมีรูพรุนมากที่สุด นั่นคือที่สภาวะ ร้อยละ 5 โดยน้ำหนักของโพลีไวนิลแอลกอฮอล์ในน้ำ และมีแคลเซียมคาร์บอเนต ในสัดส่วน 50 : 50 กับโพลีไวนิลแอลกอฮอล์ ผลิตภัณฑ์มีรูพรุนสูงร้อยละ 79.32 ของสารชิ้นหนึ่ง ๆ ถูกเลือกมาเพิ่มสารไดเมทิวไกลออกซีม (DMG) ร้อยละ 2 ในเอธานอล ในการสังเคราะห์ผลิตภัณฑ์ในสัดส่วน 50 : 50 กับน้ำ เมื่อนำผลิตภัณฑ์สุดท้ายไปใช้ในการดักจับโลหะหนักประเภทนิกเกิล สารประกอบของ Ni(DMG)₂ จะเกิดขึ้น และสามารถเห็นสีชมพูอมแดงของสารประกอบดังกล่าวได้ด้วยตาเปล่า และค่าความเข้มของสีสามารถวัดค่าการดูดกลืนแสงได้ในค่าแอบซอแบนซ์ (absorbance) ผ่านเครื่องเสปกโตรโฟโตเมตริก(spectrophotometric)-
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.2003-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectHeavy metals-
dc.subjectNickel-
dc.subjectโลหะหนัก-
dc.subjectนิกเกิล-
dc.titlePreparation of porous hybrid composite from calcium sanden_US
dc.title.alternativePorous hybrid composite จากทรายเกาะเสม็ดสำหรับทำเซนเซอร์ตรวจจับสารโลหะหนักชนิด นิกเกิลen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplinePolymer Scienceen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorThanyalak.C@Chula.ac.th-
dc.email.advisorDsujitra@Chula.ac.th-
dc.email.advisorStephan.D@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.2003-
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vararat_sw_front_p.pdfCover and abstract910.99 kBAdobe PDFView/Open
Vararat_sw_ch1_p.pdfChapter 1614.92 kBAdobe PDFView/Open
Vararat_sw_ch2_p.pdfChapter 21.33 MBAdobe PDFView/Open
Vararat_sw_ch3_p.pdfChapter 3833.37 kBAdobe PDFView/Open
Vararat_sw_ch4_p.pdfChapter 42.05 MBAdobe PDFView/Open
Vararat_sw_ch5_p.pdfChapter 5613.78 kBAdobe PDFView/Open
Vararat_sw_back_p.pdfReference and appendix740.27 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.