Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75286
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิโรจน์ วาทินพงศ์พันธ์ | - |
dc.contributor.author | ธนกฤต ม่วงสกุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2021-08-28T07:30:35Z | - |
dc.date.available | 2021-08-28T07:30:35Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75286 | - |
dc.description | เอกัตศึกษา (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562 | en_US |
dc.description.abstract | บุหรี่ IQOS หรือผลิตภัณฑ์ยาสูบประเภทไม่เผาไหม้(heated tobacco) นั้นจัดเป็นหนึ่งใน นวัตกรรมสําหรับผู้บริโภคยาสูบที่ต้องการลดสารพิษจากควันที่เกิดจากการเผาไหม้ลง และด้วย พฤติกรรมของผู้บริโภคยาสูบที่เปลี่ยนไปในขณะนี้ทําให้ผลิตภัณฑ์ยาสูบประเภทไม่เผาไหม้นั้นเป็นที่ ยมสูงมากขึ้นทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นในโซนยุโรปหรืออเมริกา แต่อย่างไรก็ดี ผลิตภัณฑ์ยาสูบประเภท ดังกล่าวยังมีข้อจํากัดทางกฎหมายในด้านการควบคุม เช่น การให้คํานิยาม การควบคุมส่งเสริมการ บริโภค หรือมาตรการด้านการจัดจําหน่าย ทําให้ในประเทศไทยนั้นเกิดปัญหาการลักลอบนําเข้ามา จําหน่ายหรือครอบครอง และยากต่อการควบคุมในการเข้าถึงเด็กและเยาวชน จากการศึกษาเอกัตศึกษาฉบับนี้ ทําให้ทราบถึงปัญหาในการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบชนิดไม่ เผาไหม้ ซึ่งในประเทศไทยนั้นยังไม่มีการปรับปรุงมาตรการเผื่อให้ทันต่อพฤติกรรมการบริโภคยาสูบ ของผู้บริโภคยาสูบ โดยได้มีการศึกษามาตรการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบประเภทไม่เผาไหม้ หรือ IQOS ข้างต้นกับประเทศที่ถือว่าเป็นต้นแบบของการออกมาตรการควบคุมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ ประเทศอังกฤษ ประเทศอเมริกา และประเทศที่ยังไม่อนุญาต ได้แก่ ประเทศสิงคโปร์ ว่ามีการออก มาตรการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบดังกล่าวอย่างไร เพื่อนํามาเปรียบเทียบกับมาตรการควบคุม ผลิตภัณฑ์ยาสูบของประเทศไทย และทําการพิจารณาถึงมาตรการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบที่ยังไม่ เหมาะสมของประเทศไทยอย่างแท้จริง ดังนั้น ผู้เขียนมีความเห็นว่ารัฐบาลควรมีมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมผลิตภัณฑ์ ยาสูบที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น เพื่อที่จะแก้ไขปัญหาความครอบคลุมและข้อกฎหมายในการควบคุม ผลิตภัณฑ์ยาสูบให้ทันต่อยุคสมัยที่เปลี่ยนไป โดยนํามาตรการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบของประเทศ อังกฤษ และอเมริกา ที่มีวิธีที่เหมาะสมกับประเทศไทย และนํามาปรับใช้กับมาตรการควบคุม ผลิตภัณฑ์ยาสูบของประเทศไทย เพื่อช่วยแก้ปัญหาในการควบคุมการลักลอบนําเข้ามาจําหน่ายหรือ ครอบครอง การเข้าถึงผลิตภัณฑ์ยาสูบของเยาวชน เพื่อให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2019.123 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ยาสูบ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | en_US |
dc.subject | บุหรี่ | en_US |
dc.title | มาตรการทางกฎหมายในการกำหนดบุหรี่ IQOS เป็นสินค้าควบคุมในประเทศไทย | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | กฎหมายเศรษฐกิจ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Wirote.W@Chula.ac.th | - |
dc.subject.keyword | สินค้าควบคุม | en_US |
dc.subject.keyword | ผลิตภัณฑ์ยาสูบ | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.IS.2019.123 | - |
Appears in Collections: | Law - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6186163634.pdf | 1.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.