Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75326
Title: | Biodiesel production from palm oil using KOH/bentonite catalysts |
Other Titles: | การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันปาล์มโดยใช้โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์บนเบนโทไนต์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา |
Authors: | Chesta Jindavat |
Advisors: | Apanee Luengnaruemitchai Samai Jai-In |
Other author: | Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College |
Advisor's Email: | Apanee.L@Chula.ac.th Samai Jai-In |
Subjects: | Biodiesel fuels Bentonite Transesterification เชื้อเพลิงไบโอดีเซล เบนทอไนต์ ทรานเอสเทอริฟิเคชัน |
Issue Date: | 2011 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | The transesterification was carried out using KOH loaded on bentonite as a heterogeneous catalyst. The effects of reaction parameters, such as reaction time, % K loading, reaction temperature, molar ratio of methanol to oil, and amount of catalyst, were optimized for the production of biodiesel. The 25 wt% K/bentonite catalysts gave a biodiesel yield of 94.13% at 60 ℃ within 3 h at a 1:15 molar ratio of palm oil to methanol and a catalyst amount of 3 wt%. The results showed that the catalyst having highest basicity exhibited the highest biodiesel yield. The catalyst was characterized by using XRD, FTIR, SEM-EDS, TPD, BET, and Hammett indicator. In addition, the effect of calcination temperature of the catalyst on the biodiesel yield was also studied. |
Other Abstract: | ในงานวิจัยนี้ศึกษาปฏิกิริยาทรานส์เอสเตอร์ริฟิเคชันโดยใช้โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ บนเบนโทนไนต์ (KOH/bentonite) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ ปัจจัยที่มีผลต่อปฏิกิริยา เช่น เวลาที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยา ปริมาณโพแทสเซียมบนเบนโทไนต์ อุณหภูมิที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยา อัตราส่วนโดยโมลระหว่างน้ำมันกับเมทานอล และปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยาที่เหมาะสมในการ เกิดไบโอดีเซล จากผลการทดลองพบว่า ปริมาณโพแทสเซียมร้อยละ 25 โดยน้ำหนักบนเบนโทไนต์ ให้ไบโอดีเซลร้อยละ 94.13 โดยน้ำหนัก ที่อุณหภูมิในการเกิดปฏิกิริยาที่ 60 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 3 ชั่วโมง อัตราส่วนโดยโมลระหว่างน้ำมันกับเมทานอลเป็น 15:1 และปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยาร้อยละ 3 โดยน้ำหนัก (เทียบกับน้ำหนักของน้ำมันพืช) จากผลการทดลองยังแสดงให้เห็นว่า ตัวเร่งปฏิกิริยาที่ได้ มีความเป็นเบสสูงมากส่งผลให้ผลิตปริมาณไบโอดีเซลได้มากที่สุด นอกจากนี้มีใช้ XRD, FTIR, SEM-EDS, TPD, BET, และ Hammett indicator ในการวิเคราะห์ คุณสมบัติของตัวเร่งปฏิกิริยา และมีการศึกษาอุณหภูมิที่เหมาะสมในการเผาตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีผลต่อปริมาณไบโอดีเซล |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2011 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Petrochemical Technology |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75326 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Petro - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chesta_ji_front_p.pdf | หน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ | 879.81 kB | Adobe PDF | View/Open |
Chesta_ji_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 624.46 kB | Adobe PDF | View/Open |
Chesta_ji_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.01 MB | Adobe PDF | View/Open |
Chesta_ji_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 768.08 kB | Adobe PDF | View/Open |
Chesta_ji_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 1.9 MB | Adobe PDF | View/Open |
Chesta_ji_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 606.01 kB | Adobe PDF | View/Open |
Chesta_ji_back_p.pdf | บรรณานุกรมและภาคผนวก | 1.15 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.