Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75339
Title: | Carbon dioxide removal from flue gas using hybrid solvent absorption |
Other Titles: | การแยกก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากฟลูก๊าซโดยใช้กระบวนการดูดซึมด้วยตัวทำละลายผสม |
Authors: | Marita Rattanacom |
Advisors: | Thammanoon Sreethawong Sumaeth Chavadej Santi Kulprathipanja |
Other author: | Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College |
Advisor's Email: | Thammanoon.S@Chula.ac.th Sumaeth.C@Chula.ac.th No information provided |
Subjects: | Carbon dioxide Flue gases Gases -- Separation Absorption คาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซ -- การแยก การดูดซึม |
Issue Date: | 2011 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Normally, flue gas released into the atmosphere from most industries, including the petrochemical industry, contains approximately 80 % N2, 15 % CO2, and 5 % O2. The flue gas produced by the combustion of fossil fuels, which is composed of CO2, is therefore considered to cause the greenhouse effect. To reduce greenhouse gas emission, the liquid solvent absorption process, the most important commercial technology for CO2 removal, can be efficiently applied. The widely used solvent is monoethanolamine (MEA). Sterically hindered amines and diamines have also been introduced because of their advantages in high absorption capacity and high degradation resistance. Hence, the aim of this work was to investigate hybrid solvents blended between MEA and other amine additives. The experimental results showed that the MEA aqueous solvent with MEA concentration of 30 wt.% provided the maximum CO2 removal efficiency, as well as high CO2 absorption rate and CO2 loading capacity. When MEA was blended with a suitable amine additive at an appropriate blending ratio, both the absorption rate and CO2 loading capacity tended to increase. |
Other Abstract: | โดยปกติแล้วฟลูก๊าซที่ถูกปล่อยออกสู่บรรยากาศมาจากอุตสาหกรรมเป็นส่วนใหญ่ซึ่งรวมไปถึงโรงงานอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ฟลูก๊าซประกอบด้วยก๊าซไนโตรเจนประมาณร้อยละ 80, ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ประมาณร้อยละ 15, และก๊าซออกซิเจนประมาณร้อยละ 5 ซึ่งฟลูก๊าซที่ได้จากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลจะประกอบไปด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งก่อให้เกิด ปรากฎการณ์เรือนกระจก ในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก กระบวนการดูดซึมด้วยตัวทำละลายของเหลวถือเป็นเทคโนโลยีทางการค้าที่สำคัญที่สุดในการกำจัดก๊าซคาร์บอนออกไซด์ เนื่องจากมีประสิทธิภาพสูง ตัวทำละลายที่นิยมใช้กันอย่างกว้างขวางคือโมโนเอทานอลเอมีน นอกจากนี้เอมีนที่มีตัวขัดขวางและไดเอมีนยังได้รับความสนใจใช้เป็นตัวทำละลายเนื่องจากมีค่า ความจุในการดูดซึมและความด้านทานต่อการย่อยสลายสูง ดังนั้นวัตถุประสงค์ของงานนี้คือเพื่อศึกษาตัวทำละลายผสมที่เหมาะสมระหว่างโมโนเอทานอลเอมีนและตัวทำละลายเอมีนอื่น ๆ โดยผลการทดลองพบว่าตัวทำละลายโมโนเอทานอลเอมีนที่มีความเข้มข้นร้อยละ 30 โดยน้ำหนัก นอกจากจะมีประสิทธิภาพในการกำจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สูงสุดแล้ว ยังมีอัตราการดูดซึม และความจุในการดูดซึมก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สูงด้วย นอกจากนี้เมื่อมีการผสมโมโนเอทานอลเอมีนกับตัวทำละลายเอมีนอื่น ๆในสัดส่วนที่เหมาะสมพบว่า เมื่อผสมตัวทำละลายเอมีนอื่น ๆลงไป จะส่งผลให้ทั้งอัตราการดูดซึมและความจุในการดูดซึมมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2011 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Petroleum Technology |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75339 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Petro - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Marita_ra_front_p.pdf | หน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ | 876.26 kB | Adobe PDF | View/Open |
Marita_ra_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 633.42 kB | Adobe PDF | View/Open |
Marita_ra_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.14 MB | Adobe PDF | View/Open |
Marita_ra_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 710.76 kB | Adobe PDF | View/Open |
Marita_ra_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 1.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
Marita_ra_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 618.23 kB | Adobe PDF | View/Open |
Marita_ra_back_p.pdf | บรรณานุกรมและภาคผนวก | 714.76 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.