Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75350
Title: Production of solketal from glycerol : effect of water removal and its use in preparation of benzyl solketal ether
Other Titles: กระบวนการผลิตซอลคีทอลจากกลีเซอรอล: การศึกษาของผลกระทบจากการดึงน้ำออกและการนำไปใช้ในการเตรียมเบนซิลซอลคีทอลอีเธอร์
Authors: Narinthorn Suriyaprapadilok
Advisors: Boonyarach Kitiyanan
Other author: Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
Advisor's Email: Boonyarach.K@Chula.ac.th
Subjects: Glycerin
Biodiesel fuels
กลีเซอรีน
เชื้อเพลิงไบโอดีเซล
Issue Date: 2011
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: In the past, petrochemical industry had been a major producer of glycerol. Because of the high growth of biodiesel, glycerol is also produced at the same growing rate. This situation brings the price of glycerol to drop dramatically. Therefore, it should be a way to increase value of this by-product. Glycerol can be used in various manufacturers for example: food industry, cosmetic, plastic, drug, and etc. Solketal is a useful derivative which can be blended in gasoline or biodiesel for fuel additives, or used in synthesis of mono-, di-, triglycerides. The purpose of this work is divided into two parts. First is the study of using acid catalyst and molecular sieve 3A to increase the yield of solketal from reaction of glycerol and acetone. The reaction can be completed within 6 hours by using 1:6 of glycerol to acetone molar ratio. Subsequently, the prepared solketal was used to synthesize benzyl solketal ether by performing reaction with benzyl alcohol. There are many by-products in this reaction, for example: glycerol, acetone, dibenzyl ether and benzyl glycerol ether. The 4:1 solketal to benzyl alcohol molar ratio increases selectivity toward benzyl solketal ether (52.2%selectivity at 12 hour).
Other Abstract: กระบวนการผลิตกลีเซอรอลในอดีตนั้นสามารถผลิตได้จากอุตสาหกรรมปิโตรเคมีได้เพียงทางเดียวจึงทำให้กลีเซอรอลมีราคาสูง แต่เนื่องจากการปริมาณการผลิตน้ำมันไบโอดีเซล (biodiesel) ซึ่งได้กลีเซอรอลเป็นผลผลิตพลอยได้จากกระบวนการผลิตนั้น ทำให้ราคาของกลีเซอรอลต่ำ ลงมาก ดังนั้นโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตไบโอดีเซลจึงต้องค้นหาวิธีในการที่จะเพิ่มมูลค่าให้แก่กลีเซอรอล กลีเซอรอลนั้นสามารถนำไปเป็นสารตั้งต้นในการผลิตสารเคมีได้หลายอุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมอาหาร, เครื่องสำอาง, พลาสติก และยา เป็นต้น ซอลคีทอล คือ อนุพันธ์รูปหนึ่งที่น่าสนใจของกลีเซอรอล และสามารถนำไปใช้ได้ในหลายอุตสาหกรรม เช่น นำไปผสมเพื่อปรับปรุงคุณภาพของน้ำมัน และ อุตสาหกรมการผลิต โมโน-, ได- และ ไตรกลีเซอไรด์ในงานวิจัยนี้จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ การศึกษากระบวนการผลิตซอลคีทอล ซึ่งปัญหาหลัก ในการผลิตซอลคีทอล คือ สมดุลของปฏิกิริยาที่ทำให้ปฏิกิริยานั้นผันกลับจากน้ำ ในงานวิจัยนี้จึงนำโมเลคคูลาร์ซีฟ 3A ซึ่งในคุณสมบัติในการดูดซับน้ำที่ทำให้เกิดปฏิกิริยาผันกลับ ผลการทดสอบพบว่า การใช้โมเลคคูลาร์ซีฟ 3A ร่วมกับกรดพาราโทลูอีคซัลโฟนิก สามารถเพิ่มผลผลิตของซอลคีทอลได้มากขึ้น และอัตราส่วน 1:6 โมลาร์ระหว่าง กลีเซอรอล ต่อ อะซีโทนคือ อัตราส่วนที่เหมาะสมแก่การผลิตซอลคีทอลใน 6 ชั่วโมง ส่วนสุดท้ายคือการผลิต เบนซิลซอลคีทอลอีเธอร์ ซึ่งเกิดจากการทำปฏิกิริยาอีเธอร์ริฟิเคชั่นระหว่าง ซอลคีทอล และ เบนซิลแอลกอฮอล์ โดยตัวเร่งปฏิกิริยาแบบกรด ในการผลิตพบว่า ปฏิกิริยานี้มีผลผลิตพลอยได้จำนวนมาก ได้แก่ กลีเซอรอล อะซีโทน เบนซิลกลีเซอรอลอีเธอร์และไดเบนซิลอีเธอร์ อัตราส่วน 4:1โมลาร์ระหว่าง ซอลตีทอล และ เบนซิลแอลกอฮอล์คือ อัตราส่วนที่เหมาะสมที่สามารถเพิ่มค่าการเลือกของเบนซิลซอลคีทอลอีเธอร์ถึง 52.2% ใน 12 ชั่วโมง
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2011
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Petrochemical Technology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75350
Type: Thesis
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Narinthorn_su_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ881.55 kBAdobe PDFView/Open
Narinthorn_su_ch1_p.pdfบทที่ 1624 kBAdobe PDFView/Open
Narinthorn_su_ch2_p.pdfบทที่ 21.27 MBAdobe PDFView/Open
Narinthorn_su_ch3_p.pdfบทที่ 3665.88 kBAdobe PDFView/Open
Narinthorn_su_ch4_p.pdfบทที่ 41.84 MBAdobe PDFView/Open
Narinthorn_su_ch5_p.pdfบทที่ 5625.7 kBAdobe PDFView/Open
Narinthorn_su_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.