Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75418
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Sumaeth Chavadej | - |
dc.contributor.author | Pranee Tangkathitipong | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College | - |
dc.date.accessioned | 2021-09-06T04:15:33Z | - |
dc.date.available | 2021-09-06T04:15:33Z | - |
dc.date.issued | 2014 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75418 | - |
dc.description | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2014 | en_US |
dc.description.abstract | Simultaneous production of hydrogen and methane from biodiesel wastewater with added glycerine was investigated by using a two-stage anaerobic sequencing batch reactor (ASBR) system. A hydrogen reactor (4 L) and methane reactor (24 L) were operated under mesophilic temperature (37 ºC) at 6 cycles/d. The pH in the hydrogen bioreactor was controlled at 5.5 while the pH in the methane bioreactor was not controlled. Glycerine was added to the biodiesel wastewater at 3.5 % w/v to obtain a constant feed chemical oxygen demand (COD) of 45000 mg/l. A recycle ratio of 1:1 was used to minimize the NaOH addition in the hydrogen reactor used for pH adjustment. The two-stage ASBR system was operated at different COD loading rates (33.75-84.38 kg/m³d based on the hydrogen ASBR system or 5.63-14.06 kg/m³d based on the methane ASBR system). The highest hydrogen production performance, in terms of hydrogen yield (7.8 ml H₂/g COD removed) and specific hydrogen production rate, SHPR (88.9 ml H₂/g MLVSS d), was found at a COD loading rate of 67.50 kg/m³d. The highest methane production performance, in terms of methane yield (128.4 ml CH₄/g COD removed) and specific methane production rate, SMPR (232.5 ml CH₄/g MLVSS d), was found at a COD loading rate of 11.25 kg/m³d. | - |
dc.description.abstractalternative | กระบวนการผลิตไฮโดรเจนและมีเทนจากน้ำเสียไบโอดีเซลถูกศึกษาโดยเติมกลีเซอรีนและใช้ถังปฏิกรณ์แบบเอเอสบีอาร์สองขั้นตอนด้วยแบคทีเรียชนิดสภาวะไร้อากาศในการหมักถังปฏิกรณ์ผลิตไฮโดรเจนขนาด 4 ลิตรและถังปฏิกรณ์ผลิตมีเทนขนาด 24 ลิตรถูกศึกษาภายใต้อุณหภูมิเมโซฟิลิกและดำเนินการ 6 รอบต่อวันโดยพีเอชในถังไฮโดรเจนถูกควบคุมไว้ที่ 5.5 ในขณะที่ในถังมีเทนไม่ถูกควบคุมพีเอช กลีเซอรีนปริมาณ 3.5 %w/v ถูกเติมลงไปในน้ำเสียไบโอดีเซลเพื่อให้ได้ปริมาณ COD ของน้ำเท่ากับ 45000 มิลลิกรัมต่อลิตรในขณะที่อัตราส่วนของสายเข้าต่อสายรีไซเคิลที่ 1:1 ถูกใช้เพื่อลดปริมาณการใช้โซเดียมไฮดรอกไซด์เพื่อปรับพีเอชในถังปฏิกรณ์ผลิตไฮโดรเจน ในงานวิจัยนี้ถังปฏิกรณ์เอเอสบีอาร์แบบสองขั้นตอนถูกดำเนินการที่อัตราป้อนสารอินทรีย์แตกต่างกัน (33.75-84.38 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตรต่อวัน สำหรับกระบวนการผลิตไฮโดรเจน หรือ 5.63-14.06 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตรต่อวัน สำหรับกระบวนการผลิตมีเทน) ซึ่งจากผลการทดลองพบว่าอัตราการป้อนสารอินทรีย์ที่เหมาะสมในกระบวนการผลิตไฮโดรเจนคือ 67.50 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตรต่อวัน สามารถผลิตผลได้ของก๊าซไฮโดรเจน 7.8 มิลลิลิตรของก๊าซไฮโดรเจนต่อกรัมของสารอินทรีย์ที่ถูกกำจัด และ อัตราการผลิตก๊าซไฮโดรเจนจำเพาะ 88.9 มิลลิลิตรของก๊าซไฮโดรเจนต่อกรัมของของแข็งแขวนลอยต่อวัน นอกจากนี้ในส่วนของอัตราการป้อนสารอินทรีย์ที่เหมาะสมในกระบวนการผลิตมีเทนคือ 11.25 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตรต่อวัน โดยสามารถผลิตผลได้ของก๊าซมีเทน 128.4 มิลลิลิตรของก๊าซมีเทนต่อกรัมของสารอินทรีย์ที่ถูกกำจัด และ อัตราการผลิตก๊าซมีเทนจำเพาะ 232.5 มิลลิลิตรของก๊าซมีเทนต่อกรัมของของแข็งแขวนลอยต่อวัน | - |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1514 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | en_US |
dc.subject | Hydrogen -- Production | - |
dc.subject | Methane -- Production | - |
dc.subject | ไฮโดรเจน -- การผลิต | - |
dc.subject | มีเทน -- การผลิต | - |
dc.title | Hydrogen and methane production from biodiesel wastewater by two-stage anaerobic sequencing batch reactor (ASBR) under mesophilic temperature | en_US |
dc.title.alternative | การผลิตไฮโดรเจนและมีเทนจากน้ำเสียไบโอดีเซล โดยใช้ถังปฏิกรณ์แบบเอเอสบีอาร์สองขั้นตอน ภายใต้อุณหภูมิเมโซฟีลิก | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | Master of Science | en_US |
dc.degree.level | Master's Degree | en_US |
dc.degree.discipline | Petrochemical Technology | en_US |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en_US |
dc.email.advisor | Sumaeth.C@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2014.1514 | - |
Appears in Collections: | Petro - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pranee_ta_front_p.pdf | Cover and abstract | 852.99 kB | Adobe PDF | View/Open |
Pranee_ta_ch1_p.pdf | Chapter 1 | 615.91 kB | Adobe PDF | View/Open |
Pranee_ta_ch2_p.pdf | Chapter 2 | 1.92 MB | Adobe PDF | View/Open |
Pranee_ta_ch3_p.pdf | Chapter 3 | 856.91 kB | Adobe PDF | View/Open |
Pranee_ta_ch4_p.pdf | Chapter 4 | 1.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
Pranee_ta_ch5_p.pdf | Chapter 5 | 628.42 kB | Adobe PDF | View/Open |
Pranee_ta_back_p.pdf | Reference and appendix | 1.23 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.