Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75718
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรศักดิ์ ตรีนัย-
dc.contributor.authorนุษพร ทองคำ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-09-21T05:00:55Z-
dc.date.available2021-09-21T05:00:55Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75718-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563-
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้เป็นการศึกษาผลของโปรแกรมการพยาบาลโดยใช้รูปแบบการดูแลของ Swanson ต่อพฤติกรรมการบริหารยาของผู้ปกครองเด็กวัยเรียนโรคลมชัก กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ปกครองของเด็กวัยเรียนโรคลมชักที่ผู้ป่วยเด็กอายุ 6-12 ปี ซึ่งเข้ารับการรักษาแผนกผู้ป่วยในสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี จำนวน  32  คน แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 16 คน กลุ่มทดลอง 16 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์ที่กำหนด กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการพยาบาลโดยใช้รูปแบบการดูแลของ Swanson เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ โปรแกรมการพยาบาลโดยใช้รูปแบบการดูแลของ Swanson  และแบบประเมินพฤติกรรมการบริหารยาของผู้ปกครองเด็กวัยเรียนโรคลมชักที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น   มีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ  .83  มีค่าความเที่ยงครอนบาคอัลฟ่าเท่ากับ  .863  วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติการทดสอบค่าที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้เป็นการศึกษาผลของโปรแกรมการพยาบาลโดยใช้รูปแบบการดูแลของ Swanson ต่อพฤติกรรมการบริหารยาของผู้ปกครองเด็กวัยเรียนโรคลมชัก กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ปกครองของเด็กวัยเรียนโรคลมชักที่ผู้ป่วยเด็กอายุ 6-12 ปี ซึ่งเข้ารับการรักษาแผนกผู้ป่วยในสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี จำนวน  32  คน แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 16 คน กลุ่มทดลอง 16 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์ที่กำหนด กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการพยาบาลโดยใช้รูปแบบการดูแลของ Swanson เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ โปรแกรมการพยาบาลโดยใช้รูปแบบการดูแลของ Swanson  และแบบประเมินพฤติกรรมการบริหารยาของผู้ปกครองเด็กวัยเรียนโรคลมชักที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น   มีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ  .83  มีค่าความเที่ยงครอนบาคอัลฟ่าเท่ากับ  .863  วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติการทดสอบค่าที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการบริหารยาของผู้ปกครองเด็กวัยเรียนโรคลมชักในกลุ่มทดลองหลังได้รับโปรแกรมการพยาบาลโดยใช้รูปแบบการดูแลของ Swanson สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการพยาบาลโดยใช้รูปแบบการดูแลของ Swanson อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการบริหารยาของผู้ปกครองเด็กวัยเรียนโรคลมชักในกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการพยาบาลโดยใช้รูปแบบการดูแลของ Swanson สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยสนับสนุนให้เห็นว่า กิจกรรมการพยาบาลเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริหารยาของผู้ปกครองเด็กวัยเรียนโรคลมชักจะมีประสิทธิภาพเมื่อผู้ปกครองได้รับรูปแบบการดูแล  5 องค์ประกอบของ Swanson  ซึ่งจะนำไปสู่การมีความหวัง กำลังใจ ความมั่นใจในการปฏิบัติ และคงความเชื่อการบริหารยาถูกต้อง เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริหารยาของบุคคลที่ดีขึ้น-
dc.description.abstractalternativeThe quasi-experimental research investigated the effectiveness of applying Swanson’s caring model to drug administration nursing care program for parents of school - age children with epilepsy. The target population was 32 parents of school-aged pediatric patients (6-12 years) who had epilepsy. Who admitted at Inpatient Department, Queen Sirikit National Institute of Child Health. The population was divided into a control group (n = 16) and an experimental group (n = 16). The control group received regular nursing care program while the experimental one received nursing care program using Swanson’s caring model. The research instruments were the nursing care program based on the concept of Swanson and the drug administration questionnaire for parents of school-age children who had epilepsy. The content validity was .83 and reliability analysis was .863.The t-test was used to analyze statistically significant result of the two groups. The Major results are as follows.    1. The mean scores of the experimental group that received nursing care program using Swanson’s caring model were significantly better after received the program. At the significance level of .05 2. The mean scores of the experimental group that received nursing care Program using Swanson’s caring model were significantly more than the control group that received normal nursing care. At the significance level of .05 These findings revealed nursing activities which promoted drug administration by parents of school-age children with epilepsy. The effective holistic nursing care include five components of Swanson’s caring model that lead to individual practice confidence, hope, encouragement and belief in practicing correct drug administration.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.913-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectลมบ้าหมู-
dc.subjectยา -- การบริหาร-
dc.subjectEpilepsy-
dc.subjectDrugs -- Administration-
dc.subject.classificationNursing-
dc.titleผลของโปรแกรมการพยาบาลโดยใช้รูปแบบการดูแลของสแวนสันต่อพฤติกรรมการบริหารยาของผู้ปกครองเด็กวัยเรียนโรคลมชัก-
dc.title.alternativeThe effect of a nursing care program using swanson’s caring model on parent’s drug administration behavior for school-age children with epilepsy-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2020.913-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5977167136.pdf9.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.