Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิรางค์ ทับสายทอง-
dc.contributor.authorซูฟียา เจะอารง, 2522--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2006-05-27T04:12:30Z-
dc.date.available2006-05-27T04:12:30Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745314374-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเชื่อมโยงสีกับสภาวอารมณ์ของวัยรุ่นตอนปลายและผู้ใหญ่ตอนต้น กลุ่มตัวอย่างเป็นวัยรุ่นตอนปลายอายุ 18-22 ปี และผู้ใหญ่ตอนต้นอายุ 30-35 ปี กลุ่มละ 300 คน (ชาย 150 คน และหญิง 150 คน) รวมทั้งสิ้น 600 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดการเชื่อมโยงสีกับสภาวอารมณ์ และข้อมูลได้รับการวิเคราะห์เป็นเปอร์เซ็นต์รวมทั้งทดสอบความแตกต่างภายในกลุ่มด้วย Chi-square Test ผลการวิจัยพบว่า 1. การเชื่อมโยงสีกับสภาวอารมณ์ วัยรุ่นตอนปลายและผู้ใหญ่ตอนต้น ทั้งเพศชายและเพศหญิง เชื่อมโยงสีแดงกับสภาวอารมณ์ตื่นเต้น สีเขียว และสีเหลืองกับสภาวอารมณ์สบายใจ สีเขียว สีเหลือง สีน้ำเงิน และสีน้ำตาลกับสภาวอารมณ์อบอุ่น สีน้ำเงิน และสีน้ำตาลกับสภาวอารมณ์ปลอดภัย สีส้มและสีเหลืองกับสภาวอารมณ์สนุกสนาน สีแดง สีเทา และสีดำกับสภาวอารมณ์ต่อต้าน สีแดงกับสภาวอารมณ์มีพลัง และสีดำกับสภาวอารมณ์โศกเศร้า 2. ความแตกต่างของเพศและกลุ่มอายุ ในการศึกษาครั้งนี้ ไม่มีความแตกต่างทางเพศและกลุ่มอายุ ในการเชื่อมโยงสีกับสภาวอารมณ์en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the association of colors and mood-tones of late adolescents and early adults. Subjects consisted of 600 from late adolescents (18-22 years old) and early adults (30-35 years old), 300 subjects (150 males and 150 females) in each age group. Association of colors and mood-tones was used as a research instrument and data were analysed in percent and tested difference within group by Chi-square test. Results are as follows : 1. Association of colors and mood-tones Late adolescents and early adults, both males and females associate red with an exciting situation ; green and yellow with a relaxed situation ; green, yellow, blue, and brown with a warm situation ; blue and brown with a secure situation ; orange and yellow with a cheerful situation ; red, gray, and black with an opposed situation; red with a powerful situation ; and black with a melancholy one. 2. Gender and age group difference. There is neither gender nor age group difference in the association of colors and mood-tones in this studyen
dc.format.extent1758746 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสี--แง่จิตวิทยาen
dc.subjectอารมณ์en
dc.titleการเชื่อมโยงสีกับสภาวอารมณ์ของวัยรุ่นตอนปลายและผู้ใหญ่ตอนต้นen
dc.title.alternativeAssociation of colors and mood-tones of late adolescents and early adultsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineจิตวิทยาพัฒนาการen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPsy@chula.ac.th-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sufeeya.pdf1.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.