Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76064
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิรยุทธ์ สินธุพันธุ์-
dc.contributor.authorศลิล ตันวิสุทธิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-09-21T06:11:55Z-
dc.date.available2021-09-21T06:11:55Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76064-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเล่าเรื่องในละครสีดา-ราม ศึกรักมหาลงกา รวมถึงศึกษาบุคลิกลักษณะตัวละครสตรีในละครสีดา-ราม ศึกรักมหาลงกาและการแสดงอำนาจของตัวละครสตรีนั้นต่อตนเองและต่อผู้อื่น โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการเก็บข้อมูลโดยการวิเคราะห์ตัวบทจากละครสีดา-ราม ศึกรักมหาลงกา จำนวน 110 ตอน และตัวบทจากวรรณคดีรามายณะฉบับวาลมิกิ ผลการวิจัยพบว่า ในละครสีดา-ราม ศึกรักมหาลงกา มีการเล่าเรื่อง บุคลิกลักษณะตัวละครสตรีและการแสดงอำนาจของตัวละครสตรีแตกต่างจากวรรณคดีรามายณะฉบับวาลมิกิ โดยละครสีดา-ราม ศึกรักมหาลงกามีการเล่าเรื่องในมุมมองของตัวละครสตรีมากกว่า บุคลิกลักษณะตัวละครสตรีในละครสีดา-ราม ศึกรักมหาลงกามีลักษณะเป็นหญิงแกร่ง มีจิตใจที่เข้มแข็ง นอกเหนือจากรามายณะฉบับวาลมิกิที่เน้นคุณสมบัติความเป็นกุลสตรีของตัวละครสตรีคือต้องมีรูปลักษณ์ภายนอกที่งดงามและอ่อนน้อม เชื่อฟังสามี และการแสดงอำนาจของตัวละครสตรีต่อตนเองและผู้อื่นในละครสีดา-ราม ศึกรักมหาลงกาที่ไม่ปรากฏในรามายณะฉบับวาลมิกิ-
dc.description.abstractalternativeThe research aims to study the narrative of Sita-Ram Television Series as well as the characteristics of the female characters in the series, for the purpose of understanding the female’s power expressed as an independent woman and as other roles she plays in the society. The qualitative research is conducted using textual analysis to study the 110 episode Sita-Ram Series, and also on the Valmiki's Ramayana. It was found that the female characters in Sita-Ram Television Series show distinguishable characteristics from the female characters in Valmiki's Ramayana. They also have different ways of expressing the female’s power. In addition, Sita-Ram Television series tries to tell the story from the female’s perspective more than the Valmiki version. The television series reflects strong female characters, while Valmiki version focuses more on females’ beautiful features, their gentleness and passive characters towards their husbands.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.782-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectสตรีในวรรณกรรม-
dc.subjectอำนาจ (สังคมศาสตร์) ในวรรณกรรม-
dc.subjectการเล่าเรื่อง-
dc.subjectตัวละครและลักษณะนิสัย-
dc.subjectWomen in literature-
dc.subjectPower (Social sciences) in literature-
dc.subjectNarration ‪(Rhetoric)‬-
dc.subjectCharacters and characteristics-
dc.subject.classificationSocial Sciences-
dc.titleการเล่าเรื่องเพื่อแสดงอำนาจสตรีในละครสีดา-ราม ศึกรักมหาลงกา-
dc.title.alternativeNarration of female power in Sita-Ram television series-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2020.782-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5984674028.pdf2.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.