Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76110
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงกมล ชาติประเสริฐ-
dc.contributor.authorอรรถพร ปานกลัด-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-09-21T06:12:19Z-
dc.date.available2021-09-21T06:12:19Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76110-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้เฟซบุ๊กในการเปิดรับข่าวสารทางการเมือง กับการรับรู้ประสิทธิภาพทางการเมืองของผู้ใช้เฟซบุ๊ก โดยการใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างผ่านช่องทางออนไลน์ รวมจำนวนทั้งสิ้น 499 คน แล้วจึงนำมาวิเคราะห์ผลทางสถิติด้วยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบความแตกต่างของประชากร ค่าเฉลี่ยของประชากร และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว นอกจากนี้ยังได้ทำการสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มตัวอย่างอีก 8 คน   ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า การใช้เฟซบุ๊กเปิดรับข่าวสารทางการเมืองมีความสัมพันธ์กับการรับรู้ประสิทธิภาพทางการเมือง กล่าวคือ บุคคลที่ใช้เฟซบุ๊กเปิดรับข่าวสารทางการเมืองในปริมาณมาก จะมีการรับรู้ประสิทธิภาพทางการเมืองมากกว่าบุคคลที่เปิดรับข่าวสารทางการเมืองผ่านเฟซบุ๊กในปริมาณน้อย นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ที่แสดงความคิดเห็นทางการเมืองผ่านเฟซบุ๊กจะมีการรับรู้ประสิทธิภาพทางการเมืองมากกว่าผู้ที่เปิดรับข่าวการเมืองแต่ไม่แสดงความคิดเห็น ซึ่งแรงจูงใจทางการเมือง ผลกระทบต่อการแสดงจุดยืนทางการเมือง การโต้แย้งทางการเมือง เสียงส่วนใหญ่ทางการเมือง และความเชื่อมโยงของการรับรู้ความสามารถภายในตนเองมีผลต่อการตัดสินใจแสดงความคิดเห็นหรือไม่แสดงความคิดเห็นต่อข่าวการเมืองในเฟซบุ๊ก-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to study the relationship between the use of Facebook for political news and political efficacy of Facebook users. Data was gathered using online questionnaires given to a sample of 499 Facebook users. Statistical analysis methods including percentage, average, standard deviation, Chi-square, t-test and one way ANOVA were applied in this research. In addition, in-depth interviews of 8 users were conducted. It was found that the use of Facebook for political news is related to political efficacy. In other words, Facebook users who highly expose to political news tend to have higher political efficacy than those who have lower level of exposure. Besides, it was found that individuals who give opinions on political issues on Facebook have higher political efficacy than individuals who expose to political news without giving comments. Political motivation, impact on political standpoint, political dispute, political majority vote and linkage of Self- efficacy are related to decision to give or not to give opinions on political news on Facebook.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.790-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectเฟซบุ๊ก-
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางการเมือง-
dc.subjectFacebook ‪(Electronic resource)‬-
dc.subjectPolitical participation-
dc.subject.classificationArts and Humanities-
dc.titleปริมาณการใช้เฟซบุ๊ก พฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นทางการเมืองผ่านเฟซบุ๊กและการรับรู้ประสิทธิภาพทางการเมืองของคนไทย-
dc.title.alternativeThe amout of Facebook use, political commenting behavioron Facebook and political efficacy of Thai people-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2020.790-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6280039028.pdf2.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.