Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7614
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา-
dc.contributor.advisorจินตนา ยูนิพันธุ์-
dc.contributor.authorศรีเกียรติ อนันต์สวัสดิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2008-07-21T08:18:19Z-
dc.date.available2008-07-21T08:18:19Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746382586-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7614-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractพัฒนารูปแบบการสอนบูรณาการเพื่อส่งเสริมจริยธรรม ในการทดลองต้องการเปรียบเทียบความตั้งใจกระทำพฤติกรรมจริยธรรม ของนักศึกษากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ศึกษาพฤติกรรมจริยธรรมและการตัดสินใจเชิงจริยธรรม กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 2 จำนวน 60 คน สุ่มตัวอย่างแบบง่ายและจับคู่กลุ่มตัวอย่างที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระดับเดียวกันในกลุ่มทดลอง 30 คน กลุ่มควบคุม 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบวัดความตั้งใจกระทำพฤติกรรมจริยธรรม ซึ่งวัด 3 ครั้ง ก่อนการทดลอง หลังสอนภาคทฤษฎี และหลังสอนภาคปฏิบัติ แบบสังเกตพฤติกรรมจริยธรรม ซึ่งได้รับการตรวจหาความตรงและความเที่ยงแล้ว และการบันทึกพฤติกรรมจริยธรรมและการตัดสินใจเชิงจริยธรรม ส่วนวิธีการสอนที่ใช้ได้แก่การกระจ่างค่านิยม การสืบสอบทางจริยธรรม การประชุมปรึกษาทางคลินิกและการเสนอกรณีศึกษา ซึ่งบูรณาการวิธีสอนทุกวิธีในการสอนวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช 1 โดยยึดหลักจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาล ในการสอนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ วิเคราะห์ข้อมูลโดยทดสอบค่าที การวิเคราะห์เนื้อหาและจำแนกประเภท ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. การสอนภาคทฤษฎี พบว่าคะแนนเฉลี่ยความตั้งใจกระทำพฤติกรรมจริยธรรมภายหลังสอน ของนักศึกษากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2. การสอนภาคปฏิบัติ พบว่าคะแนนเฉลี่ยความตั้งใจกระทำพฤติกรรมจริยธรรมภายหลังสอน ของนักศึกษากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. คะแนนเฉลี่ยความตั้งใจกระทำพฤติกรรมจริยธรรมของนักศึกษากลุ่มทดลอง ก่อนการสอนและหลังการสอนภาคทฤษฎีไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่คะแนนเฉลี่ยความตั้งใจกระทำพฤติกรรมจริยธรรมก่อนการสอนภาคปฏิบัติ และหลังการสอนภาคปฏิบัติ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนกลุ่มควบคุมความตั้งใจกระทำพฤติกรรมจริยธรรม ก่อนการทดลองและหลังการทดลอง ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. พฤติกรรมจริยธรรมของนักศึกษากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 5. นักศึกษากลุ่มทดลองมีความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมดีกว่ากลุ่มควบคุมen
dc.description.abstractalternativeTo develop the integrated instruction model for promoting ethics, to compare the intention to perform ethical behavior, to study ethical behavior and ethical decision making of nursing students. Two groups of students, 30 each were randomly assigned to the experimental and control group which were controled by the matched-pair strategy, based on their GPA. The experimental group was provided the integrated instruction model for promoting ethics in both theory and practice while control group received the actual teaching style. Teaching ethics methods included value clarification, ethics inquiry, clinical conference and case presentation. The intention to perform ethical behavior measurement was collected from each group 3 times: before teaching, after teaching theory and after teaching practice. The data were analyzed by t-test. Ethical behavior and ethical decision making were observed and recorded by researcher during the student practice. Content analysis and typology were used. Major results of this study were the following. 1. There were no statistical differences on the intention to perform ethical behavior after teaching between experimental group and control group. 2. Statistical differences at the .05 level were found between experimental group and control group after practice test for the experimental group received higher score than the control group. 3. No statistical differences were found between the experimental group before teaching and after teaching theory but for statistical differences at the .05 level were found between the experimental group before teaching practice and after teaching practice. No statistical differences were found between the pre-test and post-test of control group. 4. No statistical differences on the ethical behavior were found between experimental group and control group 5. The experimental group was more able to solve ethical dilemmas than the control group.en
dc.format.extent1145756 bytes-
dc.format.extent1675327 bytes-
dc.format.extent3487450 bytes-
dc.format.extent2010584 bytes-
dc.format.extent4542468 bytes-
dc.format.extent1978814 bytes-
dc.format.extent2466745 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectจริยธรรม -- การศึกษาและการสอนen
dc.subjectการพยาบาล -- แง่ศีลธรรมจรรยาen
dc.subjectการสอนen
dc.subjectนักศึกษาพยาบาลen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการสอนบูรณาการเพื่อส่งเสริมจริยธรรม ของนักศึกษาพยาบาล ในวิทยาลัยพยาบาล กระทรวงสาธารณสุขen
dc.title.alternativeA development of the integrated instruction model for promoting ethics of students in nursing colleges, Ministry of Public Healthen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาเอกes
dc.degree.disciplineอุดมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisordwallapa@dpu.ac.th-
dc.email.advisorJintana.Y@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SriKiat_An_front.pdf1.12 MBAdobe PDFView/Open
SriKiat_An_ch1.pdf1.64 MBAdobe PDFView/Open
SriKiat_An_ch2.pdf3.41 MBAdobe PDFView/Open
SriKiat_An_ch3.pdf1.96 MBAdobe PDFView/Open
SriKiat_An_ch4.pdf4.44 MBAdobe PDFView/Open
SriKiat_An_ch5.pdf1.93 MBAdobe PDFView/Open
SriKiat_An_back.pdf2.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.