Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76189
Title: Highrise in tropics: analyses and syntheses on core system of residential highrise buildings in tropical region
Other Titles: อาคารสูงในเขตร้อนชื้น บทวิเคราะห์และบทสังเคราะห์เรื่องพื้นที่สัญจรและบริการในแนวแกนตั้งของอาคารสูง ในภูมิภาคอากาศร้อนชื้น
Authors: Khin Thu Thu Kyaw Nyunt
Advisors: Chittawadi Chitrabongs
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Architecture
Subjects: Buildings -- Design and construction
Buildings -- Climatic factors
อาคาร -- การออกแบบและการสร้าง
อาคาร -- ปัจจัยภูมิอากาศ
Issue Date: 2020
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This thesis entitled “High-rise in Tropics: Analyses and Syntheses on Core System of Residential High-rise Buildings in Tropical Region” is the study on the space composition of core and circulation systems of high-rise buildings to propose a design of residential high-rise building in the existing project called Star City Thanlyin in Yangon. This attempt is to begin to understand the differences between the positions of core and the composition of circulation systems that may effect the quality of spaces, especially in terms of natural light and ventilation. This thesis begins with a historical approach to study compositions of core system of late 19th century and early 20th century high-rise built mostly in the US. Louis Sullivan’s buildings and texts are therefore chosen to be parts of the analysis. Climate is the given context of the site. In order to propose a residential high-rise for a tropical country like Myanmar, it is necessary to study how the compositions have been done in the countries located above the Tropic of Cancer. Windshell Naradhiwas, designed by Kevin Mark Low and the MET designed by WOHA in Bangkok are two main case studies of possibilities in composing architectural elements that welcome natural light and ventilation in the main circulation spaces. Even though the price per apartment of the projects are higher than Star City Thanlyin, it is hoped that this thesis can bring more possibilities to compose architectural spaces for residential high-rise in the tropical region.
Other Abstract: วิทยานิพนธ์เล่มนี้ ชื่อ “อาคารสูงในเขตร้อนชื้น บทวิเคราะห์และบทสังเคราะห์เรื่องพื้นที่สัญจรและบริการในแนวแกนตั้งของอาคารสูง ในภูมิภาคอากาศร้อนชื้น” เป็นการศึกษา การเรียบเรียง ที่ว่าง ระบบทางสัญจรของอาคารสูง เพื่อนำเสนอแบบที่พักอาศัยอาคารสูงของโครงการที่มีอยู่จริง เรียกว่า สตาร์ ซิตี้ ณ เมืองย่างกุ้ง ความพยายามนี้คือการเริ่มทำความเข้าใจ ความแตกต่างระหว่าง ตำแหน่งของแกนหนักอาคาร และการเรียบเรียง ที่ว่างของทางสัญจร ที่อาจส่งผลต่อคุณภาพของ ที่ว่าง โดยเฉพาะในเชิง แสงสว่างทางธรรมชาติและการระบายอากาศ วิทยานิพนธ์นี้เริ่มต้นจากแนวทาง เชิงประวัติศาสตร์ ในการศึกษาวิธีเรียบเรียงแกนหลักของอาคารสูงในปลายศตวรรษที่ 19 ถึงต้นศตวรรษที่ 20 โดยเฉพาะในประเทศอเมริกา อาคารและหนังสือที่ออกแบบและเขียนโดย หลุยส์ ซัลลิแวน จึงถูกเลือกมาเป็นส่วนหนึ่งของบทวิเคราะห์ ภูมิอากาศเป็นปัจจัยของที่ตั้งตามธรรมชาติ การที่จะเรียบเรียงอาคารที่พักอาศัยสูงให้ประเทศในเขตร้อนชื้น เช่น พม่า มีความจำเป็นต้องศึกษาการเรียบเรียงที่ว่างในประเทศที่อยู่เหนือเส้นรุ้งที่อยู่ห่างจากเส้นศูนย์สูตรไปทางเหนือ อาคารวินเชล นราธิวาส ออกแบบโดย เควิน มาร์ค โล และ เดอะ เมท ออกแบบโดย บริสัทโวฮา ในกรุงเทพ เป็นสองกรณีศึกษาที่แสดงถึงความเป็นไปได้ในการเรียบเรียงองค์ประกอบสถาปัตยกรรม ที่ต้อนรับแสงธรรมชาติและการระบายอากาศในทางสัญจรหลักของอาคารสูง แม้ว่าราคาของที่พักอาศัยในโครงการดังกล่าวจะสูงกว่าสตาร์ ซิตี้ ธานยิน ก็ตาม ความหวังของวิทธยานิพนธ์เล่มนี้คือการนำเสนอความเป็นไปได้ของการเรียบเรียง ที่ว่างในเชิงสถาปัตยกรรม ของที่พักอาศัยประเภทอาคารสูงในเขตร้อนชื้น
Description: Thesis (M.Arch.)--Chulalongkorn University, 2020
Degree Name: Master of Architecture
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Architectural Design
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76189
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.14
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2020.14
Type: Thesis
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6278002725.pdf19.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.