Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76546
Title: Factors influencing adoption and usage probability of car sharing in Bangkok
Other Titles: ปัจจัยส่งเสริมการใช้และความน่าจะเป็นของบริการคาร์แชริ่งในกรุงเทพมหานคร
Authors: Baweena Ruamchart
Advisors: Manoj Lohatepanont
Pongsa Pornchaiwiseskul
Other author: Chulalongkorn university. Graduate school
Subjects: Choice of transportation -- Thailand -- Bangkok
Automobile leasing and renting -- Thailand -- Bangkok
การเลือกวิธีการเดินทาง -- ไทย -- กรุงเทพฯ
การเช่ารถยนต์ -- ไทย -- กรุงเทพฯ
Issue Date: 2020
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This thesis aimed to examine factors influencing adoption and usage probability of car sharing in Bangkok. There were two phases of study. The first phase was examining the factors influencing the probability of using of car sharing. The latter was designed to assess customers’ attitudes toward the intention to use car sharing. Both studies employed a quantitative method of data collection and analysis. Study One assessed the likelihood of using car sharing from customers’ characteristics in three main groups: socio-economic status, travel behavior and car-sharing preferences. The data were collected through a questionnaire with the target population group. In total, there were 612 observations. Then, the data were analyzed using descriptive statistics and multiple linear regression analysis under the concept of logistic regression. Through multiple linear regression analysis, the results indicated that the respondents’ socio-economic status did not affect the probability of car-sharing adoption. However, travel behavior and car-sharing preferences affected the probability of car-sharing adoption. Study Two investigated latent attitudes influencing the users’ intention to use car sharing. This study utilized an extended technology acceptance framework with four external variables: personal innovativeness (PI), environmental concern (EC), social influence (SI) and perceived risk (PR). Similarly, the survey was conducted to collect the data from target population group. In total, 505 participants completed the questionnaire. Confirmatory factor analysis (CFA) and structural equation model (SEM) techniques were adopted for data analysis. The results did not confirm the original TAM since a relationship was not found between perceived ease of use (PEOU) and attitude toward car sharing (ATT). However, the results supported that all four external variables influenced the intention to use car sharing.
Other Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาปัจจัยส่งเสริมการใช้และความน่าจะเป็นของบริการคาร์แชริ่งในกรุงเทพ ซึ่งงานวิจัยนี้ได้แบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ขั้นตอน โดยงานวิจัยแรกมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความน่าจะเป็นในการเลือกใช้บริการคาร์แชริ่ง และงานวิจัยที่สองมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติของผู้ใช้บริการที่มีผลต่อความตั้งใจใช้บริการคาร์แชริ่ง โดยทั้งสองงานวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ งานวิจัยที่ 1 ได้ทำการเก็บข้อมูลทั้งสิ้น 612 ตัวอย่าง จากกลุ่มประชากรเป้าหมายคือ ผู้ที่มีอายุมากกว่า 18 ปี ที่อาศัย เรียน หรือทำงาน ในกรุงเทพมหานคร โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย ใช้สถิติการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณภายใต้แนวคิดของการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกส์ ซึ่งปัจจัยที่ใช้ทดสอบแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ ลักษณะประชากรศาสตร์ ลักษณะการเดินทาง และความสนใจบริการคาร์แชริ่ง ผลการวิจัยพบว่า ลักษณะประชากรศาสตร์ไม่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการคาร์แชริ่ง ส่วนปัจจัยที่ส่งผลต่อความน่าจะเป็นที่ผู้ใช้บริการจะเลือกใช้บริการคาร์แชริ่ง ได้แก่ รูปแบบการเดินทาง วัตถุประสงค์การเดินทาง ระยะเดินจากจุดจอดรถไปยังบ้านหรือที่ทำงาน ประสบการณ์ในการใช้บริการแท็กซี่ผ่านแอปพลิเคชั่น ประสบการณ์ในการใช้บริการคาร์แชริ่ง กิจกรรมที่จะใช้บริการคาร์แชริ่ง เหตุผลที่จะใช้คาร์แชริ่ง ระยะเวลารอคอยรถที่นานที่สุดที่ยอมรับได้ในการใช้บริการคาร์แชริ่ง และราคาของการใช้บริการคาร์แชริ่ง งานวิจัยที่ 2 ได้ศึกษาทัศนคติของผู้ใช้บริการที่มีผลต่อความตั้งใจใช้บริการคาร์แชริ่ง ภายใต้กรอบแนวคิดการยอมรับเทคโนโลยี โดยเพิ่มตัวแปรภายนอก 4 ตัว ได้แก่ นวัตกรรมส่วนบุคคล ความห่วงใยต่อสิ่งแวดล้อม อิทธิพลทางสังคม และการรับรู้ความเสี่ยง ทำการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ได้ข้อมูลทั้งสิ้น 505 ตัวอย่าง ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ปัจจัยยืนยัน (CFA) และโมเดลสมการโครงสร้าง (SEM) ในการวิเคราะห์ข้อมูล โดยผลการวิจัยพบว่า ผลลัพธ์ไม่ได้ยืนยันกรอบแนวคิดการยอมรับเทคโนโลยีดั้งเดิม เนื่องจากไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความง่ายในการใช้งานกับทัศนคติในการใช้บริการคาร์แชริ่ง อย่างไรก็ตามผลการวิจัยพบว่าตัวแปรภายนอกทั้งสี่ตัวมีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้บริการคาร์แชริ่ง
Description: Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2020
Degree Name: Doctor of Philosophy
Degree Level: Doctoral Degree
Degree Discipline: Logistics and Supply Chain Management
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76546
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.290
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2020.290
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6087782120.pdf2.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.