Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76598
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรทัย ชวาลภาฤทธิ์-
dc.contributor.authorวรภพ เทพบุตร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-09-21T06:48:26Z-
dc.date.available2021-09-21T06:48:26Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76598-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการนำใบอ้อยสดไปใช้ประโยชน์ โดยนำไปผลิตเป็นเชื้อเพลิงชีวมวลเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าหรือจะแปรรูปเป็นเชื้อเพลิงอัดเม็ด วิเคราะห์ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและเปรียบเทียบความคุ้มค่าจากการลงทุนในเทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าจากใบอ้อย  ของโรงไฟฟ้าชีวมวล ระหว่างเทคโนโลยีเผาไหม้ใบอ้อยโดยตรงและแปรรูปใบอ้อยเป็นเชื้อเพลิงอัดเม็ดเปรียบเทียบกับการใช้ชานอ้อยเป็นเชื้อเพลิง จากการศึกษาพบว่าทั้ง 2 ระบบมีการใช้ต้นทุนเชื้อเพลิงและการขนส่งที่แตกต่างกัน โดยเมื่อวิเคราะห์ข้อมูลต้นทุนและผลวิเคราะห์จากการลงทุนทั้ง 2 ระบบ พบว่าการลงทุนเทคโนโลยีผลิตพลังงานไฟฟ้ารูปแบบการนำใบอ้อยไปเผาไหม้โดยตรงร่วมกับชานอ้อยที่อัตราส่วน 1:1 จะได้รับผลตอบแทนสูงกว่าและคืนทุนได้เร็วกว่ารูปแบบการแปรรูปเป็นเชื้อเพลิงอัดเม็ดร่วมกับชานอ้อยที่อัตราส่วน 1:1 โดยระบบการเผาไหม้ใบอ้อยโดยตรงมีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) 184.01 ล้านบาท ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period) 6.07 ปี ซึ่งใกล้เคียงดับการใช้ชานอ้อยอย่างเดียวที่มีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ 126.28 ล้านบาท และระยะเวลาคืนทุน (Payback Period) 6.3 ปี ส่วนระบบแปรรูปเป็นเชื้อเพลิงอัดเม็ดพบว่าไม่คุ้มค่าการลงทุน แต่ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่าแบบเผาไหม้โดยตรง ทั้งปริมาณฝุ่นและขี้เถ้าที่ลดลง อีกทั้งความหนาแน่นที่สูงขึ้นทำให้ง่ายต่อการขนส่งและเก็บรักษา-
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study are to analyze technologies for electricity generation from sugarcane leaves via direct combustion process and biomass pellets process, and to compare the investment worthiness and environmental impact between the two processes. The finding demonstrates that there are differences either in term of fuel substances or transportation mode between the two productions process, The result shows that a net present value (NPV) of a production through the sugar cane leaf direct combustion process is 184.16 million baht with a payback period of 6.07 years. This NPV value is closed to the NPV of bagasse direct combustion process at 126.44 million baht with a payback period of 6.3 years. While the payback period of a production via the biomass pellets process is over 20 years which is considered not worth in investment terms but less environmental impact than the direct combustion. The amount of dust and ashes generated from sugar cane leaf direct combustion process are lower than those generated from bagasse direct combustion.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.113-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectแหล่งพลังงานทดแทน-
dc.subjectชีวมวลอัดเม็ด-
dc.subjectอ้อย -- ใบ-
dc.subjectRenewable energy sources-
dc.subjectWood pellets-
dc.subjectSugarcane -- Leaves-
dc.subject.classificationEconomics-
dc.titleการประเมินการใช้ใบอ้อยเป็นแหล่งพลังงานทดแทน-
dc.title.alternativeAssessment of sugarcane leaves for alternative sources of energy-
dc.typeIndependent Study-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีและการจัดการพลังงาน-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2020.113-
Appears in Collections:Grad - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6280059320.pdf2.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.