Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7670
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประสิทธิ์ พิทยพัฒน์-
dc.contributor.authorวรวิทย์ กังสมุทร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2008-07-28T03:44:23Z-
dc.date.available2008-07-28T03:44:23Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746370286-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7670-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractกล่าวถึงระบบโครงตาข่ายการต่อลงดินของสถานีไฟฟ้าย่อย ได้แบ่งการศึกษาเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนของความรู้ทางทฤษฎี และส่วนของซอฟท์แวร์ โดยในส่วนของทฤษฎีนั้นจะครอบคลุมตั้งแต่ความรู้พื้นฐาน ไปจนถึงการวิเคราะห์ และออกแบบระบบโครงตาข่ายการต่อลงดิน ของสถานีไฟฟ้าย่อย และในส่วนของซอฟท์แวร์นั้นได้พัฒนาเป็นโปรแกรมซึ่งมีชื่อว่า "Substation Grounding Design Program (SGDP)" ด้วยภาษา Visual Basic เวอร์ชัน 4.0 เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกแก่วิศวกรไฟฟ้า ในการออกแบบระบบโครงตาข่ายการต่อลงดิน ของสถานีไฟฟ้าย่อย ระบบโครงตาข่ายการต่อลงดินที่พิจารณานั้น มีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมเพียงอย่างเดียว โดยไม่คำนึงถึงผลของแท่งดิน ซึ่งในที่นี้จะพิจารณาใน 3 ลักษณะ คือ ระบบโครงตาข่ายการต่อลงดินที่มีระยะห่างระหว่างตัวนำเท่ากัน ระบบโครงตาข่ายการต่อลงดินที่มีระยะห่างระหว่างตัวนำไม่เท่ากัน และระบบโครงตาข่ายการต่อลงดินที่มีระยะห่างระหว่างตัวนำไม่เท่ากัน แบบลำดับเรขาคณิต จากผลการวิจัย โดยทดลงออกแบบสถานีไฟฟ้าย่อย 4 แห่ง ที่มีขนาด 72x107 ตารางเมตร 40x107 ตารางเมตร 40x80 ตารางเมตร 40x50 ตารางเมตร และ 16x33 ตารางเมตร พบว่าระบบโครงตาข่ายการต่อลงดินที่มีระยะห่างระหว่างตัวนำไม่เท่ากัน และระบบโครงตาข่ายการต่อลงดิน ที่มีระยะห่างระหว่างตัวนำไม่เท่ากันแบบลำดับเรขาคณิต สามารถป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับมนุษย์ สัตว์ และอุปกรณ์ต่างๆ ทั้งภายใน และบริเวณใกล้เคียงสถานีไฟฟ้าย่อยได้ดีกว่า และใช้จำนวนลวดตัวนำน้อยกว่าระบบโครงตาข่ายการต่อลงดิน ที่มีระยะห่างระหว่างตัวนำเท่ากัน แต่ระบบโครงตาข่ายการต่อลงดินที่มีระยะห่างระหว่างตัวนำไม่เท่ากัน ไม่สามารถออกแบบระบบโครงตาข่ายสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อยที่มีขนาดเล็กได้ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าระบบโครงตาข่ายการต่อลงดินที่มีระยะห่าง ระหว่างตัวนำไม่เท่ากัน จะเหมาะสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อยขนาดใหญ่ ในขณะที่ระบบโครงตาข่ายการต่อลงดินที่มีระยะห่าง ระหว่างตัวนำไม่เท่ากันแบบลำดับเรขาคณิตจะเหมาะสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อยขนาดกลาง และเล็กen
dc.description.abstractalternativeTo describe a substation grounding grid, which comprises of two sections, i.e. the theorical background study and software development. In the first section, the substance included the basic theory and the methods of design and analysis. For the other section, the software, Substation Grounding Design Program (SGDP) was written by Visual Basic version 4.0, to assist an electrical engineer in designing substation grounding grid. The grounding grid considered are of rectangular shape, disreguarding the effect of ground rod in this design. There are three methods that is studies, the equally spaced grounding grid, the unequally spaced grounding grid, and the unequally spaced grounding grid (geometric sequence). The design examples in this thesis were carried out on four different size of substations, namely, 72mx107m, 40mx80m, 40mx50m, and 16mx33m. The results of the designs have shown that, the unequally spaced grounding grid and the unequally spaced grounding grid (geometric sequence), both gave less touch and step voltages and used less grounding conductors than the equally spaced grounding grid. But the small substations cannot be designed by the unequally spaced grounding grid method. It can be concluded that the unequally spaced grounding grid is suitable for large substation while the unequally spaced grounding grid (geometric sequence) is appropriate for medium and small substations.en
dc.format.extent706999 bytes-
dc.format.extent457111 bytes-
dc.format.extent1002729 bytes-
dc.format.extent443708 bytes-
dc.format.extent568002 bytes-
dc.format.extent407824 bytes-
dc.format.extent2429969 bytes-
dc.format.extent2478559 bytes-
dc.format.extent313237 bytes-
dc.format.extent715000 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสถานีไฟฟ้าย่อยen
dc.subjectระบบโครงตาข่ายการต่อลงดินen
dc.titleการวิเคราะห์ระบบโครงตาข่ายการต่อลงดินที่มีระยะห่าง ระหว่างตัวนำไม่เท่ากันของสถานีไฟฟ้าย่อยen
dc.title.alternativeUnequally spaced grounding grid analysis for electrical power substationsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Warawit_Ka_front.pdf690.43 kBAdobe PDFView/Open
Warawit_Ka_ch1.pdf446.4 kBAdobe PDFView/Open
Warawit_Ka_ch2.pdf979.23 kBAdobe PDFView/Open
Warawit_Ka_ch3.pdf433.31 kBAdobe PDFView/Open
Warawit_Ka_ch4.pdf554.69 kBAdobe PDFView/Open
Warawit_Ka_ch5.pdf398.27 kBAdobe PDFView/Open
Warawit_Ka_ch6.pdf2.37 MBAdobe PDFView/Open
Warawit_Ka_ch7.pdf2.42 MBAdobe PDFView/Open
Warawit_Ka_ch8.pdf305.9 kBAdobe PDFView/Open
Warawit_Ka_back.pdf698.24 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.