Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7676
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพวงเพ็ญ ชุณหปราณ-
dc.contributor.authorวาสนา ฉัตรเวทิน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2008-07-28T05:02:03Z-
dc.date.available2008-07-28T05:02:03Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746386778-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7676-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการจัดกิจกรรมและสภาพแวดล้อม การเรียนการสอนภาคปฏิบัติวิชาการพยาบาลผู้สูงอายุของอาจารย์พยาบาลในวิทยาลัยพยาบาล สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก จำแนกตาม อายุ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานด้านการสอน และการได้รับการฝึกหรืออบรมเกี่ยวกับพยาบาลผู้สูงอายุ ประชากรและกลุ่มตัวอย่างคือ อาจารย์พยาบาลซึ่งเป็นผู้จัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุในวิทยาลัยพยาบาล สังกัดสถาบันพระบรมราชชนกจำนวน 65 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์เชิงลึกที่ผ่านการทดสอบความตรงตามเนื้อหาและมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .97 ผลการวิจัยพบว่าอาจารย์พยาบาลจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุในชั้นวางแผน ขั้นดำเนินการ และขั้นประเมินผล อยู่ในระดับสูง (X = 4.25, 4.05, 4.10 ตามลำดับ) สภาพแวดล้อมการเรียนการสอนทางกายภาพ อยู่ในระดับปานกลาง (X = 3.31) และสภาพแวดล้อมทางจิตใจและสังคม อยู่ในระดับสูง (X = 3.90) การจัดกิจกรรมและสภาพแวดล้อม การเรียนการสอนภาคปฏิบัติ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุของอาจารย์พยาบาล จำแนกตามอายุ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานด้านการสอน และการได้รับการศึกษาหรืออบรมเกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุไม่แตกต่างกัน การจัดกิจกรรมและสภาพแวดล้อม การเรียนการสอนภาคปฏิบัติ สามารถอธิบายได้ดังนี้ ในขั้นวางแผนอาจารย์พยาบาลมีการประชุมปรึกษาและศึกษาถึงลักษณะวิชา วัตถุประสงค์ของวิชา พร้อมทั้งวางแผนกิจกรรมการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ และประสานงานกับแหล่งฝึกภาคปฏิบัติ ทั้งแบบเป็นทางการและไม่เป็นทางการ ในขั้นดำเนินการพบว่า อาจารย์พยาบาลใช้วิธีการสอนหลายวิธีผสมผสานกัน และมีการกำหนดให้นักศึกษาจัดกิจกรรมในชมรมผู้สูงอายุหรือสถานสงเคราะห์ เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ในขั้นการประเมินผล พบว่าเกณฑ์การประเมินผลและวิธีการประเมินผล ขึ้นอยู่กับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาคปฏิบัติของอาจารย์พยาบาล สำหรับสภาพแวดล้อมทางกายภาพ พบว่าสภาพแวดล้อมทางกายภาพภายในโรงพยาบาล ขาดอุปกรณ์ที่เอื้อต่อการพยาบาลผู้สูงอายุ แต่ภายในสถานสงเคราะห์มีความเหมาะสมมากกว่า และสภาพแวดล้อมทางจิตใจและสังคม พบว่าอาจารย์พยาบาล พยาบาลประจำการ และนักศึกษาพยาบาลมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study teaching activities and teaching environments in clinical setting in gerontological nursing of nursing instructors from nursing colleges under the jurisdiction of Praboromarajchanok Institute, Ministry of Public Health, classified by ages, educational backgrounds, teaching experiences, and training in genrontological nursing. Sample were 65 nursing instructors who taught gerontological nursing. The research instruments were questionnarie and in-depth interview guidline which had been tested for content validity and the reliability was .97. Research finding were as follows: Nursing instructors had activities in planning, implementing and evaluation of clinical teaching at high level (X = 4.25, 4.05, 4.10 respectively) physical environment was at moderate level (X = 3.31) psychosocial environment was at high level (X = 3.90). When classified by age, education level, teaching experience, training in gerontological nursing their teaching activities were not different. Teaching activities and teaching environments could be explain as follows : In planning, nursing instructors had conferences, studied the course descriptions and learning objectives, plan for clinical teaching also cooperated both formal and informal with nursing service administrators in implementing, nursing instructors integrated various teaching methods in clinical teaching. They also assigned the students' to participate in elderly clubs or home for the aged. In evaluating, it was found that evaluation criteria and methods depended on clinical teaching activities of nursing instructors. For physical environments, home for the aged provided better appropriate environments for the elderly than in the hospitals. For psychosocial enfironment it was found that nursing instructors, staff nurses, and nursing students had good relationships.en
dc.format.extent515616 bytes-
dc.format.extent619338 bytes-
dc.format.extent2694847 bytes-
dc.format.extent652295 bytes-
dc.format.extent2057348 bytes-
dc.format.extent793448 bytes-
dc.format.extent1281288 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการพยาบาลผู้สูงอายุen
dc.subjectกิจกรรมการเรียนการสอนen
dc.subjectอาจารย์พยาบาลen
dc.titleการจัดกิจกรรมและสภาพแวดล้อม การเรียนการสอนภาคปฏิบัติวิชาการพยาบาลผู้สูงอายุของอาจารย์พยาบาล ในวิทยาลัยพยาบาล สังกัดสถาบันพระบรมราชชนกen
dc.title.alternativeClinical teaching activities and teaching environment in gerontological nursing subject of nursing instructors nursing colleges under the jurisdiction of Praboromarajchanok Instituteen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการพยาบาลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPaungphen.C@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wasana_Ch_front.pdf503.53 kBAdobe PDFView/Open
Wasana_Ch_ch1.pdf604.82 kBAdobe PDFView/Open
Wasana_Ch_ch2.pdf2.63 MBAdobe PDFView/Open
Wasana_Ch_ch3.pdf637.01 kBAdobe PDFView/Open
Wasana_Ch_ch4.pdf2.01 MBAdobe PDFView/Open
Wasana_Ch_ch5.pdf774.85 kBAdobe PDFView/Open
Wasana_Ch_back.pdf1.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.