Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76931
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประเสริฐ เรียบร้อยเจริญ-
dc.contributor.advisorพงษ์ศักดิ์ นิ่มดำ-
dc.contributor.authorพรทิพา ประสงค์เงิน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-09-21T08:48:07Z-
dc.date.available2021-09-21T08:48:07Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76931-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563-
dc.description.abstractกระบวนการหลักของการผลิตยางหล่อดอกคือกระบวนการคงรูปยาง  ซึ่งเป็นส่วนสำคัญที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพ    การผลิตยางหล่อดอก งานวิจัยนี้มีเป้าหมายเพื่อหาอุณหภูมิการอัดรีดยางคอมพาวนด์ที่เหมาะสมในการคงรูปยางสำหรับการผลิตในโรงงาน และศึกษาสมบัติของยางที่ผ่านการคงรูปที่อุณหภูมิแตกต่างกันที่ 140 150 และ 160 องศาเซลเซียส โดยให้มีระยะเวลาการเก็บยางคอมพาวนด์ก่อนคงรูปเพื่อจำลองการเก็บรักษากรีนไทร์เป็นเวลา 1 5 และ 10 วัน ก่อนนำไปเข้าสู่กระบวนการคงรูปยางเพื่อให้ได้ระยะเวลาที่เหมาะสมในการจัดเก็บ ทดสอบหาค่าความหนืด หาปริมาณการเกิดเจลในยาง พฤติกรรมการคงรูปชองยาง และ ค่าความหนาแน่นการเชื่อมขวางของยาง รวมไปถึงสมบัติทางกลโดยการหาค่าการต้านทานแรงดึง ค่าการยืดตัว ณ จุดขาด และค่ามอดุลัส จากผลการทดสอบแสดงให้เห็นว่าระยะเวลาสกอร์ช และระยะเวลาการคงรูปยางลดลงเมื่อเพิ่มอุณหภูมิการคงรูปและระยะเวลาในการเก็บยางคอมพาวนด์ก่อนการคงรูป ค่าการต้านทานแรงดึงแปรผันตามอุณหภูมิการคงรูป ค่าความหนาแน่นการเชื่อมขวางลดลงเมื่ออุณหภูมิการอัดรีดและอุณหภูมิการคงรูปยางคอมพาวนด์เพิ่มขึ้น เช่นเดียวกับค่าความต้านทางแรงดึงและค่ามอดุลัสที่ 300 % อย่างไรก็ตามการใช้อุณหภูมิที่สูงมากในการคงรูปยางส่งผลทำให้ยางสมบัติทางกลที่ต่ำ ได้ผลผลิตยางที่มีความแข็งแรงทนทานต่ำ ต้องใช้พลังงานไอน้ำในการให้ความร้อนสูง และสิ้นเปลืองเบลดเดอร์ ดังนั้นอุณหภูมิการอัดรีดยางคอมพาวนด์ที่ 50 องศาเซลเซียสและอุณหภูมิการคงรูปยางที่ 150 องศาเซลเซียส เป็นอุณหภูมิที่เหมาะสมที่สุดที่จะให้ระยะเวลาการคงรูปที่สั้นและยังคงคุณสมบัติทางกลของยางคอมพาวนด์ที่ดีซึ่งจำเป็นต่อการปรับปรุงกระบวนการผลิตในโรงงานผลิตยางหล่อดอกเพื่อที่จะบรรลุความต้องการของลูกค้าในอนาคต-
dc.description.abstractalternativeThe primary process of retread tire manufacturing is the curing process. It is the key process that affects tire productivity performance. The propose of this study to determine temperature optimal for tread compound extrusion and vulcanization, including to examine properties of rubber vulcanized via different temperature at 140, 150, and 160 ˚C. Green tire storage time for 1, 5, and 10 days before cured to find appropriate green tire aging limit. The viscosity, cure characteristic, %gel content and crosslink density were analyzed. The mechanical properties were inspected by tensile testing, elongation at break and modulus. The results indicated that scorch time and curing time slightly decrease with increasing the cure temperature and compound storage time.Gel fraction occurs in the rubber molecule after compound stored.  The tensile value is a direct variation with curing temperature. Crosslink density decreases with increasing extrusion temperature and cure temperature showed a quite same trend for tensile strength and modulus at 300%. However, extrusion and curing temperature at 50 ˚C and 150 ˚C respectively, are optimized temperatures because too high cure temperature affects larger steam energy for heating into mold and bladder damaged faster. That condition provides shorter curing time and still have excellent mechanical properties. These findings are important for improving tire productivity to achieve customer demand.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.885-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationMaterials Science-
dc.titleการหาอุณหภูมิที่เหมาะสมที่สุดของการรีดคอมพาวนด์หน้ายางและวัลคาไนเซชัน-
dc.title.alternativeTemperature optimization for tread compound extrusion and vulcanization-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineปิโตรเคมีและวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2020.885-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6270070323.pdf2.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.