Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77021
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสรกนก วิมลมั่งคั่ง-
dc.contributor.authorภาณุเทพ วิบูลชัยชีพ-
dc.contributor.authorอรวรา บุญรัตนกรกิจ-
dc.contributor.otherคณะเภสัชศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-09-22T10:21:11Z-
dc.date.available2021-09-22T10:21:11Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77021-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาเภสัชศาสตร์บัณฑิต สาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558en_US
dc.description.abstractประสิทธิภาพและความปลอดภัยในการใช้สมุนไพรนั้นมีความสำคัญอย่างยิ่งสำหรับผู้บริโภคสมุนไพร นอกจากนี้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรยังมีหลายรูปแบบที่อาจมีข้อบ่งใช้ที่ต่างกัน ดังนั้นผู้บริโภคจำเป็นต้องมีความรู้ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อให้สามารถตัดสินใจเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ได้อย่างถูกต้อง งานวิจัยนี้จึงได้สำรวจ ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สมุนไพรขมิ้นชันในร้านขายยาของผู้บริโภคเพื่อให้ทราบพื้นฐานความรู้ที่มีต่อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภค และเปรียบเทียบระดับความรู้ของผู้บริโภคก่อนและหลังการให้ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ โดยคาดหวังว่าผู้ที่ได้รับความรู้ที่ถูกต้องจะตระหนักถึงข้อมูลความปลอดภัยในการใช้สมุนไพรและสามารถตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับความต้องการ จากการวิจัยพบว่าผู้ร่วมวิจัยมีพื้นความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ค่อนข้างตั๋โดยมีคะแนนประมาณร้อยละ 30 เท่านั้น แต่เมื่อแยกพิจารณาในแต่ละด้านความรู้จะพบว่าผู้ร่วมวิจัยมีความรู้ด้านสรรพคุณมากที่สุด (ร้อยละ 53.33) ตามด้วยด้านคุณภาพวัตถุดิบ (ร้อยละ 38.33) ด้านขนาตวิธีข้ (ร้อยละ 27.78) ด้านสารสำคัญ (ร้อยละ 26.67 และด้านข้อห้ามและข้อควรระวัง (ร้อยละ 12.22) ตามลำตับ บอกเป็นนัยได้ว่าผู้บริโภคผลิตภัณฑ์สมุนไพรขมิ้นชันยังขาดความตระหนักถึงข้อมูสด้านคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สมุนไพรนอกจากนี้ยังพบว่าระดับความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์นี้ไม่ขึ้นกับระยะเวลาการใช้สมุนไพรและระดับการศึกษาของผู้บริโภค งานวิจัยยังพบว่าการให้ความรู้กับผู้ร่วมวิจัยสามารถเพิ่มความรู้ให้กับผู้เข้าร่วมการวิจัยได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยมีคะแนนเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 90.54 และมีคะแนนเพิ่มขึ้นในทุกด้านความรู้ โดยเฉพาะด้านข้อควรระวังและข้อห้าม และสอดคล้องกับผลการประเมินความรู้ด้วยตนเองของผู้ร่วมวิจัยที่ผู้ร่วมวิจัยเห็นว่าตนเองมีความรู้ด้านข้อควรระวังและข้อห้ามใช้เพิ่มขึ้นมากที่สุด ข้อมูลเหล่านี้แสดงให้เห็นว่าการกระตุ้นให้ผู้บริโภคตื่นตัวในเรื่องความปลอดภัยในการใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเป็นเรื่องจำเป็น และกระบวนการให้ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สมุนไพรควรได้รับการส่งเสริมเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการใช้สมุนไพรกับผู้บริโภคen_US
dc.description.abstractalternativeEfficacy and safety from using herbs are very important for the consumers. Besides, a single herb may have different indications due to myriad of herbal formulations consumers should have product knowledge in order to choose the product correctly. This research explored the consumers' knowledge about turmeric herbal products in drugstore to know their background about the products and compared the level of consumers' knowledge and after educating ther about the products by expecting that educated participants could select the right product to their needs. The results revealed that participants' knowledge about the turmeric herbal products is quite low, with the average score only 30%. When considering each aspect of knowledge it showed that the participants have known about indications very well (53.33%), followed by raw materials (38.33%), dosage (27.78%), the active substances (26.67%), and the precautions and contraindications (12.22%), respectively. It implied that consumers are lack of awareness efficacy and safety of the products. Moreover, the level of knowledge is not the length of use and the education level. In addition, educating the participants can significantly increase their knowledge with the score rising to 90.54% and the score increased in every aspect of knowledge, particularly in 'precautions and contraindications' aspect. This result was in consistence with the result of the self-evaluated knowledge assessment by participants in which they thought that their knowledge in precautions and contraindications had been increased the most. Altogether, these results indicates that consumers' awareness stimulation in the safety of using herbal products is necessary and the educating process of knowledge about herbal products should be promoted for the consumers' safe of herbal use.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectขมิ้นชันen_US
dc.subjectTurmericen_US
dc.subjectร้านขายยาen_US
dc.subjectDrugstoresen_US
dc.titleความรู้ของผู้บริโภคเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สมุนไพรขมิ้นชันในร้านยาen_US
dc.title.alternativeConsumer knowledge of turmeric herbal products in drugstoreen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorsornkanok.v@chula.ac.th-
dc.subject.keywordขมิ้นชันen_US
dc.subject.keywordร้านขายยาen_US
Appears in Collections:Pharm - Senior projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pharm_SeniorProject_33_2558.pdfไฟล์โครงงานทางวิชาการฉบับเต็ม(33-2558)1.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.