Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77027
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเหมือนเดือน พิศาลพงศ์-
dc.contributor.advisorพรสวรรค์ อัครแสงรัตน์-
dc.contributor.authorกันตพงศ์ เลิศวิธี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-09-22T23:21:41Z-
dc.date.available2021-09-22T23:21:41Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77027-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้ทำการพัฒนาตัวดูดซับที่มีประสิทธิภาพสูงแบบใหม่จากแบคทีเรียลเซลลูโลสด้วยวิธีกระตุ้นโดยใช้สารละลายกรดฟอสฟอริกเข้มข้น โดยใช้การเผาในเตาอบที่อุณหภูมิ 400 และ 600 องศาเซลเซียส  และทำการเปรียบเทียบระหว่างการผ่านและไม่ผ่านการการแช่ด้วยสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 1.0 โมลาร์     ถ่านกัมมันต์ที่เตรียมได้ทั้งหมดมีพื้นที่ผิวระหว่าง  929-1150 ตารางเมตรต่อกรัม โดยมีปริมาตรรูพรุนรวมที่ 0.59 – 0.71 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อกรัม  มีขนาดรูพรุนเฉลี่ยที่ 24.5 – 26.5 Å    จากนั้น ศึกษาการดูดซับสารละลาย คองโกเรด (Congo red) ในน้ำด้วยตัวดูดซับที่เตรียมจากแบคทีเรียลเซลลูโลส ซึ่งเป็นการทดลองแบบกะ โดยใช้ตัวดูดซับ 0.2 กรัม ในสารละลายความเข้มข้น 80 - 160 ppm ปริมาตร 200 มิลลิลิตร ที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส จากผลการทดลองพบว่า เกิดการดูดซับอย่างรวดเร็วใน 2 นาทีแรก และค่อยๆเข้าสู่สมดุลภายใน 120 นาที โดยตัวดูดซับคาร์บอนกัมมันต์ที่ผ่านการแช่ด้วยสารละลายกรดไฮโดรคลอริกที่เผาที่อุณหภูมิ 400 องศาเซลเซียส สามารถดูดซับสารละลาย คองโกเรดได้มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยที่สภาวะสมดุล สามารถดูดซับ ได้ 138.28 มิลลิกรัมกรัมคองโกเรด ต่อกรัมของตัวดูดซับ     จากการศึกษาไอโซเทอมการดูดซับ  พบว่าสมการไอโซเทอมการดูดซับแบบ Freundlich สามารถใช้อธิบายผลการดูดซับโดยรวมของการดูดซับคองโกเรดจากสารละลายน้ำ ด้วยตัวดูดซับที่เตรียมจากแบคทีเรียลเซลลูโลสในงานวิจัยนี้ ได้ดีกว่าสมการของ Linear และ Langmuir -
dc.description.abstractalternativeIn this study, a new high efficiency adsorbent had been developed from bacterial cellulose by activation with conc phosphoric acid and carbonization in an oven at 400oC and 600oC, with or without following treatment by 1.0 molar HCl. All prepared activated carbons have surface areas between 929-1150 m2/g, with the total pore volumes of 0.59 – 0.71 cm3/g and the average pore sizes of 24.5 – 26.5 Å. After that, the adsorbents prepared from bacterial cellulose were examined for the adsorption of Congo red from aqueous solution. The experiment was performed in batch by using 0.2 g adsorbent in 200 mL Congo red solution at concentration varied from 80 - 160 ppm and 30oC. It was shown that the adsorption rates were very fast during the first 2 min and the adsorption process had reached equilibrium within 120 min. The most effective adsorbent is the activated carbon that was prepared by the carbonization at 400°C followed by the treatment of hydrochloric acid. At the equilibrium, the adsorption capacity for Congo red was 138.28 mg/g of adsorbent. Overall, Freundlich isotherm can describe the adsorption isotherm of the adsorption of Congo red from aqueous solution by the adsorbent prepared from bacterial cellulose in this study better than Linear and Langmiur isotherm.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationChemical Engineering-
dc.titleการดูดซับคองโกเรดจากสารละลายในน้ำด้วยตัวดูดซับที่เตรียมจากแบคทีเรียลเซลลูโลส-
dc.title.alternativeAdsorption of congo red from aqueous solution by adsorbent prepared from bacterial cellulose-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมี-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5570902421.pdf4.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.