Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77030
Title: Adsorption and chemical cleaning process of anionic and non-ionic surfactants on the membrane surface through the forward osmosis process: application for water reuse
Other Titles: กระบวนการดูดซับและกระบวนการล้างทางเคมีของสารลดแรงตึงผิวชนิดมีขั้วและไม่มีขั้วบนพื้นผิวของเมมเบรนที่ผ่านกระบวนการฟอร์เวิร์ดออสโมซิส: การประยุกต์เพื่อนำน้ำกลับมาใช้ใหม่
Authors: Kaiwit Ruengruehan
Advisors: Sutha Khaodhiar
Other author: Chulalongkorn university. Faculty of Engineering
Issue Date: 2018
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Forward osmosis (FO) process, an attractive membrane technologies, have been widely studied and applied in many fields to manufacture the clean water. This work, we focused on the fouling behavior and mechanisms of forward osmosis (FO) fouled by sodium dodecyl sulfate (SDS) as anionic surfactants and of nonylphenol ethoxylate (NPE, NP-40) as nonionic surfactant, including cleaning process to recover the system. FO process was run under different operating conditions (cross flow velocity, pH of feed solution, surfactant concentration). In addition, deionized-water (DI), 0.1 M NaCl, and alkaline solution (NaOH) were applied as agents for the cleaning process. The results revealed that the diffusion of water molecules increased with cross-flow velocity, feed solution pH, and surfactant increasing in both single surfactant and mixture surfactant. In addition, deposits of negative charge on the membrane surface induced the diffusion of water molecules, whereby increasing FO performance. Contrariwise, the diffusion in salt molecules decreased after adding the surfactant into the feed solution due to the surfactant layer performing as a resistance, resulting in the reduction of salt flux and increasing of reversal salt selectivity. In terms of cleaning process, the findings significantly indicated that the highest performance was increased when the FO system was operated at high pH (pH 11) of feed solution due to negatively charged promoted the increasing in diffusion of water molecules.
Other Abstract: กระบวนการฟอร์เวิร์ดออสโมซิสเป็นเมมเบรนเทคโนโลยีที่กำลังได้รับความสนใจ และมีการประยุกต์ใช้กระบวนการนี้อย่างแพร่หลายเพื่อผลิตน้ำสะอาด งานวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาพฤติกรรมการเกิดชั้นของสิ่งสกปรกและกลไกที่เกิดขึ้นบนพื้นผิวของเมมเบรน (osmotic membrane) ที่ถูกคุมด้วยสารลดแรงตึงผิวชนิดมีขั้วลบ (sodium dodecyl sulfate, SDS) และไม่มีขั้ว (nonylphenol ethoxylate, NP-40) รวมถึงกระบวนการทำความสะอาดพื้นผิวของเมมเบรน โดยการศึกษาผลกระทบที่จะเกิดกับกระบวนการฟอร์เวิร์ดออสโมซิส จะมีการเดินระบบภายใต้สภาวะที่แตกต่างกัน คือ ความเร็วในการไหลของสารละลาย ค่าความเป็นกรด-ด่างของสารละลาย และปริมาณความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิว ส่วนการศึกษากระบวนการทำความสะอาดพื้นผิวจะใช้น้ำปราศจากไอออน (Deionized-water), 0.1 M NaCl และ alkaline solution (NaOH, pH 11) ผลการศึกษาพบว่าอัตราการแพร่กระจายของโมเลกุลของน้ำผ่านออสโมติกเมมเบรน (osmotic membrane) จะมีอัตราที่เพิ่มขึ้นด้วยการเพิ่มความเร็วในการไหล การเพิ่มค่าพีเอช (pH) ของสารละลาย และการเพิ่มปริมาณของสารลดแรงตึงผิว และผลการทดลองยังพบอีกว่าการสะสมประจุลบบนผิวเมมเบรนอย่างต่อเนื่องยังทำให้กระบวนการแพร่ของโมเลกุลของน้ำเพิ่มขึ้น ส่วนการศึกษาการแพร่กระจายตัวของโมเลกุลของเกลือจะลดลงหลังจากเติมสารลดแรงตึงผิวลงในระบบเนื่องจากชั้นสารลดแรงตึงผิวจะทำหน้าที่เป็นตัวต้านทานการแพร่กระจายของเกลือในระบบ ส่วนในกระบวนการทำความสะอาดพื้นผิวผลการวิจัยพบว่าการเพิ่มพีเอช (pH 11) จะทำให้ประสิทธิภาพของระบบสูงขึ้นที่สุดเนื่องจากการเพิ่มพีเอช (pH 11) จะช่วยเกิดการแพร่กระจายของน้ำมากขึ้น
Description: Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2018
Degree Name: Doctor of Philosophy
Degree Level: Doctoral Degree
Degree Discipline: Environmental Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77030
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.217
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2018.217
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5571443921.pdf2.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.