Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77309
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พวงแก้ว ปุณยกนก | - |
dc.contributor.author | บุญทอง บุญทวี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2021-09-27T04:45:36Z | - |
dc.date.available | 2021-09-27T04:45:36Z | - |
dc.date.issued | 2534 | - |
dc.identifier.isbn | 9745766542 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77309 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและพัฒนาแบบสอบวัดจิตพิสัยกลุ่มสร้างเสริมลักษณะนิสัยระดับ ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 และ 6 ตามขั้นตอนการวัดของ บลูมและคณะ โดยยึดสมรรถภาพที่สำนักงานคณะ กรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติกำหนดไว้ 5 สมรรถภาพ แยกสมรรถภาพละ 1 ฉบับ เป็นแบบปรนัยเลือกตอบ 5 ตัวเลือก แต่ละตัวเลือกมีคะแนนประจำตัวเลือกเป็น 1, 2, 3, 4 หรือ 5 คะแนน แบบสอบแต่ละฉบับมี 20 ข้อใช้เวลาฉบับละ 40 นาที ทดลองใช้ครั้งแรกกับนักเรียน 45B คน ใช้จริงกับนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง 2,927 คน แล้วนำมาวิเคราะห์หาคุณภาพรายข้อและหาคุณภาพทั้งฉบับ ตามรายสมรรถภาพ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ แบบสอบทั้งชุดวัด 5 สมรรถภาพ มีความตรงตามเนื้อหาซึ่งตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญและข้อมูลเชิง ประจักษ์จากการตอบของนักเรียน ผลการตรวจสอบความตรงเชิงจำแนกเป็นรายข้อปรากฏว่า กลุ่มสูงและกลุ่มต่ำ ตอบแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ทุกข้อ ส่วนความตรงร่วมสมัยซึ่งพิจารณาจากการประเมินของครูและการประเมินตนเอง ปรากฏผลแยกเป็นรายสมรรถภาพดังนี้ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนแบบวัดสมรรถภาพการมีวินัยในตนเอง การคิดวิจารณ์และตัดสินใจอย่างมีเหตุผล การทำงาน และอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น การมีนิสัยรักการทำงาน การรู้คุณค่าและชื่นชมศิลปวัฒนธรรมของชาติ กับการประเมิน ของครูเป็น .56, .50, .30, .49, .33 ตามลำดับ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนแบบสอบวัดสมรรถภาพการมีวินัยในตนเอง การคิดวิจารณ์และตัดสินใจอย่างมีเหตุผล การทำงานและอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น การมีนิสัยรักการทำงาน การรู้คุณค่าและชื่นชมศิลปวัฒนธรรมของชาติ กับคะแนนนักเรียนประเมินตนเอง เป็น .74, .70, .60, .76, .80 ตามลำดับ สัมประสิทธิ์ความเที่ยง (ครอนบัค อัลฟา) ของแบบสอบวัดสมรรถภาพการมีวินัยในตนเอง การคิดวิจารณ์และตัดสินใจอย่างมีเหตุผล การทำงานและอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น การมีวินัยรักการทำงาน การรู้คุณค่าและชื่นชมศิลปวัฒนธรรมของชาติ มีค่าเป็น .82, .76, .83, .28, .85 ตามลำดับ โดยมีค่าความคลาด- เคลื่อนมาตรฐานในการวัด .45, .56, .45, .92, .42 ตามลำดับ | - |
dc.description.abstract | The purpose of this research was to construct an Affective Test in Character Development Area at the Elementary Education Level; pratom 5, 6 , The Affective Test consists of 5 subtests. Each subtest measures competency recommended by The Office of National primary Education Commission. Each subset consists of 20 multiple choices item with 5 choices. each subset is 40 minutes. It was tried out with 458 students and the final test was used with 2,927 students, then each item and the whole test was analyzed. The results of the research are as follows; All subsets were investigated by experts and empirical data from students were collected to confirm their content validity. Each item was tested to ensure it’s discrimination validity. Every item can significantly differentiate between high performance group and low Performance group at .05 level. For concurrent validity, the correlations between Affective Test score and scores from teacher and self evaluation were calculated. The correlation coefficents of Affective Test scores and teacher evaluation for each subtest; 1. Self Discipline Test, 2. Critical thinking and Reasoning Test, 3. Test of Ability to work others, 4. Work Habit Test , 5. Appreciation in Thai Arts and Culture Test, were .56, .50, .30, .49, .33, respectively. The correlation coefficients of Affective Test scores and self evaluation were 074, .70, .60, .76, .80 respectively. The Cronbach Alpha reliability and the Standard Error of Measurement of each subset was =.82, .76, .83, .28, .85 , S.E.M. = 45, .56, .45, .92, .42 respectively. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.1991.108 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | จิตพิสัย | - |
dc.subject | การศึกษาขั้นประถม | - |
dc.subject | กลุ่มสร้างเสริมลักษณะนิสัย | - |
dc.subject | Affective education | - |
dc.subject | Education, Elementary | - |
dc.title | การสร้างแบบสอบวัดจิตพิสัยกลุ่มสร้างเสริมลักษณะนิสัย ระดับชั้นประถมศึกษา | en_US |
dc.title.alternative | The construction of affective test in character development area at the elementary education level | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | การวัดและประเมินผลการศึกษา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.1991.108 | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Boontong_bo_front_p.pdf | หน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ | 1.01 MB | Adobe PDF | View/Open |
Boontong_bo_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 841.24 kB | Adobe PDF | View/Open |
Boontong_bo_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.65 MB | Adobe PDF | View/Open |
Boontong_bo_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 1.75 MB | Adobe PDF | View/Open |
Boontong_bo_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 1.3 MB | Adobe PDF | View/Open |
Boontong_bo_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 964.35 kB | Adobe PDF | View/Open |
Boontong_bo_back_p.pdf | บรรณานุกรมและภาคผนวก | 2.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.